Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 02 มิถุนายน 2012, 16:08
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default โจทย์กรณฑ์ ทำไม่ได้ครับ

จงหาค่าของ
1. $\frac{\sqrt{20}+\sqrt{14}-\sqrt{16}}{\sqrt{50}+\sqrt{35}-\sqrt{15}}$

2. $\frac{1}{2-\sqrt{2}+\sqrt{3}-\sqrt{6}}$

3. $\frac{1}{\sqrt{10}+\sqrt{15}+\sqrt{14}+\sqrt{21}}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 02 มิถุนายน 2012, 17:06
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ truetaems View Post
2. $\frac{1}{2-\sqrt{2}+\sqrt{3}-\sqrt{6}}$
$2-\sqrt{2}+\sqrt{3}-\sqrt{6}=(\sqrt{3}-\sqrt{2})(1-\sqrt{2} )$
$\frac{1}{2-\sqrt{2}+\sqrt{3}-\sqrt{6}}$
$=\frac{1}{(\sqrt{3}-\sqrt{2})(1-\sqrt{2} )} $
$=-(\sqrt{3}+\sqrt{2})(1+\sqrt{2})$

กระจายต่อเองน่าจะได้
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 02 มิถุนายน 2012, 17:09
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ truetaems View Post
จงหาค่าของ
3. $\frac{1}{\sqrt{10}+\sqrt{15}+\sqrt{14}+\sqrt{21}}$
$\sqrt{10}+\sqrt{15}+\sqrt{14}+\sqrt{21}$
$=(\sqrt{5}+\sqrt{7})(\sqrt{2}+\sqrt{3} )$

ทำต่อแบบข้อสอง คูณด้วยจำนวนสังยุคของทั้งสองจำนวนก็น่าจะได้ ทำต่อเองแล้วกันครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 02 มิถุนายน 2012, 17:38
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default

ขอบคุณมากครับ ^^
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 02 มิถุนายน 2012, 18:56
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default

เหลือข้อ 1 ครับ คิดหลายรอบยังไม่ได้สักที T_T

02 มิถุนายน 2012 18:57 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ truetaems
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 02 มิถุนายน 2012, 20:18
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default โจทย์กรณฑ์ ทำไม่ได้ครับ

4. $\frac{11}{2+\sqrt{3}+\sqrt{5} }$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 02 มิถุนายน 2012, 21:47
Hirokana's Avatar
Hirokana Hirokana ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2009
ข้อความ: 97
Hirokana is on a distinguished road
Default

$=\frac{11((2+\sqrt{3})-\sqrt{5})}{(2+\sqrt{3})^2-(\sqrt{5})^2}$
$=\frac{11(2+\sqrt{3}-\sqrt{5})}{(4+4\sqrt{3}+3)-5}$
$=\frac{11(2+\sqrt{3}-\sqrt{5})}{2(2\sqrt{3}+1)}$
$=\frac{11(2+\sqrt{3}-\sqrt{5})(2\sqrt{3}-1)}{2((2\sqrt{3})^2-1^2)}$
$=\frac{11(2+\sqrt{3}-\sqrt{5})(2\sqrt{3}-1)}{2(11)}$
$=\frac{(2+\sqrt{3}-\sqrt{5})(2\sqrt{3}-1)}{2}$
__________________
พยายามเพื่อสิ่งที่ดีที่สุด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 03 มิถุนายน 2012, 10:30
Jade1209's Avatar
Jade1209 Jade1209 ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 เมษายน 2012
ข้อความ: 51
Jade1209 is on a distinguished road
Default


03 มิถุนายน 2012 10:30 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Jade1209
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 03 มิถุนายน 2012, 16:14
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default โจทย์กรณฑ์ ทำไม่ได้ครับ

เหลืออีกข้อครับ
จงหาค่าของ $\frac{2\sqrt{14}(\sqrt{3\sqrt{3}-\sqrt{2}-\sqrt{6}+3})}{(\sqrt{3\sqrt{3}-\sqrt{2}+\sqrt{6}-3})}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 03 มิถุนายน 2012, 19:54
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ลองเอา $\sqrt{3\sqrt{3}-\sqrt{2}-\sqrt{6}+3 } $ คูณทั้งเศษและส่วนดู
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

03 มิถุนายน 2012 19:56 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 04 มิถุนายน 2012, 12:46
truetaems truetaems ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 121
truetaems is on a distinguished road
Default โจทย์กรณฑ์ ทำไม่ได้ครับ

ขอบคุณครับ โจทย์กรณฑ์ที่ผมทำไม่ได้จะใส่ในหัวข้อนี้เรื่อยๆนะครับ
x.จงหาค่าของ $\sqrt[4]{137-36\sqrt{14}}$

04 มิถุนายน 2012 16:30 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ truetaems
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 04 มิถุนายน 2012, 16:50
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อแรก ถ้าทำตามที่มีคนแนะนำไว้จะได้ว่า
$\frac{\sqrt{20}+\sqrt{14}-\sqrt{16}}{\sqrt{50}+\sqrt{35}-\sqrt{15}}$

$=\frac{\sqrt{2} \left(\,\sqrt{10}+\sqrt{7} -2\sqrt{2} \right) }{\sqrt{5} \left(\,\sqrt{10}+\sqrt{7} -\sqrt{3} \right) } $

ไม่มีการตัดกันระหว่างเศษกับส่วน น่าจะจบด้วยการคูณด้วย $\sqrt{7}-\sqrt{3}-\sqrt{10} $ เมื่อคูณกับ $\sqrt{10}+\sqrt{7} -\sqrt{3}$ จะได้ $\left(\,-2\sqrt{21}\right) $ ในการแปลง เราต้องการแปลงให้ส่วนเป็นจำนวนเต็ม
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 04 มิถุนายน 2012, 16:52
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

$\sqrt[4]{137-36\sqrt{14}}$ ข้อนี้ไม่ง่าย คุ้นๆว่าเคยมีคนมาถามในนี้แล้ว ต้องระดับคุณNoooNuiถึงจะแก้ออก
ข้อนี้ผมขอคิดก่อน
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 04 มิถุนายน 2012, 17:22
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ไม่ใช่ผมก็ทำได้นะครับ ไม่ยากอย่างที่คิด

$137-36\sqrt{14}=137-2\sqrt{81\cdot 56}=(9-2\sqrt{14})^2=(\sqrt{7}-\sqrt{2})^4$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 04 มิถุนายน 2012, 21:30
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ $\sqrt[4]{137-36\sqrt{14}}$
ลองสังเกต $(\sqrt{3}-\sqrt{2} )^2=5-2\sqrt{6} $
$(5-2\sqrt{6})^2=37-20\sqrt{6}=(\sqrt{3}-\sqrt{2})^4 $
ดังนั้น $\sqrt[4]{137-36\sqrt{14}}$ จึงน่าจะเขียนออกมาในรูป $\sqrt[4]{(a-b\sqrt{14})^2}$
$(a-b\sqrt{14})^2=a^2+14b^2-2ab\sqrt{14}$ เมื่อเทียบพจน์ต่อพจน์แล้วจะได้ว่า
$a^2+14b^2=137$.....(1)
$ab=18$......(2)
จากสมการ (1) จะเห็นว่า $a$ เป็นเลขคี่ และ $b$ เป็นเลขคู่
ลองแยกตัวประกอบของ $18$ ได้สามคู่คือ $18-1,9-2,6-3$
ลองแทนได้ค่าคือ $a=9,b=2$
จะได้ว่า $\sqrt[4]{137-36\sqrt{14}}=\sqrt{9-2\sqrt{14} }=\sqrt{7+2-2\sqrt{2} \sqrt{7} } $
$=\sqrt{(\sqrt{7} -\sqrt{2} )^2} $
$=\sqrt{7} -\sqrt{2}$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:36


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha