Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #31  
Old 12 เมษายน 2009, 21:34
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

จะมีคำตอบไหมอ่ะครับ
ได้ $\log_x(\frac{1}{3})(\frac{4}{9})(\frac{27}{64})(10000)=0$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #32  
Old 12 เมษายน 2009, 21:40
JamesCoe#18's Avatar
JamesCoe#18 JamesCoe#18 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มีนาคม 2009
ข้อความ: 219
JamesCoe#18 is on a distinguished road
Default

คือโจทย์ $log_x{(\frac{1}{3})(\frac{4}{9})(\frac{27}{64})(16)}$

ซึ่งจะได้ $log_x1=0$

ลองดูโจทย์อีกทีคับ

แก้ให้แล้วนะคับ ^^

13 เมษายน 2009 15:53 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: double post+แก้เล็กน้อยโปรดใช้ปุ่มแก้ไข
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #33  
Old 13 เมษายน 2009, 00:37
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ JamesCoe#18 View Post
คือโจทย์ $log_x{(\frac{1}{3})(\frac{4}{9})(\frac{27}{64})(16)}$

ซึ่งจะได้ $log_x1=0$

ลองดูโจทย์อีกทีคับ
ผมว่าข้อนี้คำตอบน่าจะเป็นช่วงครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #34  
Old 13 เมษายน 2009, 10:56
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ตอบ $x\in R^{+}$ และ $x\not= 1$ หรือเปล่าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #35  
Old 13 เมษายน 2009, 20:52
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ต่อกันดีกว่าครับ(สงสัยจะไม่นิดตามชื่อกระทู้แล้วอิอิ)
กำหนด $a=1(1!)+2(2!)+3(3!)+...+2549(2549!)$ และ $b=\frac{1}{2!}+\frac{3}{4!}+\frac{5}{6!}+...+\frac{2549}{2550!}$
จงหาค่าของ $\frac{a}{b}$ ในรูปของแฟคทอเรียล
ให้ $f(x)=\frac{2^x}{2^x+2^{1-x}}$ จงหาค่าของ $\sum_{k=1}^{2550} f(\frac{k}{2551})$
ให้ $a,b$ เป็นคำตอบของสมการ $3\log_{2x}6+\log_{18}3x=3$ จงหาค่าของ $a+b$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #36  
Old 13 เมษายน 2009, 21:29
JamesCoe#18's Avatar
JamesCoe#18 JamesCoe#18 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มีนาคม 2009
ข้อความ: 219
JamesCoe#18 is on a distinguished road
Default

$a=\sum_{n = 1}^{2549}n(n)!$

$b=\sum_{n = 1}^{1275}\frac{(2n-1)}{(2n!)} $

ที่เหลือรอคนมาต่อคับ

13 เมษายน 2009 23:49 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 7 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ JamesCoe#18
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #37  
Old 14 เมษายน 2009, 10:43
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ข้อlog ผมทำงี้ได้หรือเปล่าครับ
$3\log_{2x}6=3\log_{18}18-\log_{18}3x$
$\log_{2x}6^3=\log_{18}\frac{18^3}{3x}$
เทียบว่า $2x=18$ และ $6\times 6\times 6=\frac{18\times 18\times 18}{3x}$
ดังนั้นสรุปได้ว่า $x=9$
ปล.ช่วยตรวจด้วยครับ ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #38  
Old 14 เมษายน 2009, 19:24
V.Rattanapon V.Rattanapon ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 ตุลาคม 2007
ข้อความ: 120
V.Rattanapon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
ให้ $f(x)=\frac{2^x}{2^x+2^{1-x}}$ จงหาค่าของ $\sum_{k=1}^{2550} f(\frac{k}{2551})$
ข้อนี้ใช้ \[
f\left( x \right) + f\left( {1 - x} \right) = 1
\]

14 เมษายน 2009 19:25 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ V.Rattanapon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #39  
Old 14 เมษายน 2009, 19:41
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ถ้าเป็นอย่างที่ว่าก็ได้
$$(\frac{1}{2551})+(\frac{2550}{2551})=1$$
$$(\frac{2}{2551})+(\frac{2549}{2551})=1$$
$$(\frac{3}{2551})+(\frac{2548}{2551})=1$$
$$.$$
$$.$$
$$.$$
$$(\frac{2550}{2551})+(\frac{1}{2551})=1$$
$$(\frac{1}{2551})+(\frac{2550}{2551})+(\frac{2}{2551})+(\frac{2549}{2551})+(\frac{3}{2551})+(\frac{2548}{2551})+...+(\frac{2550 }{2551})+(\frac{1}{2551})=2550$$
$$2[(\frac{1}{2551})+(\frac{2}{2551})+(\frac{4}{2551})+...+(\frac{2550}{2551})]=2550$$
$$\sum_{k=1}^{2550}=\frac{2550}{2}=1275$$
ใช่ไหมครับ
ปล.ขอบคุณสำหรับวิธีครับ สุดยอดจริงๆ(นึกไม่ถึง)
ปล.2.ข้อ log ผมทำถูกไหมครับ

14 เมษายน 2009 19:45 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Ne[S]zA
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #40  
Old 15 เมษายน 2009, 03:56
-InnoXenT-'s Avatar
-InnoXenT- -InnoXenT- ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 487
-InnoXenT- is on a distinguished road
Default

จากโจทย์จะได้ว่า

$a = (2550-1)2549! + (2549-1)2548! + ... + (2-1)1!$

แล้วกระจายเข้าไป จะได้

$a = 2550! - 2549! + 2549! - .... -2! + 2! -1$
$a = 2550! -1$

ส่วน b ผมยังคิดอยู่ (ง่วงมาก ดูเวลาที่ผมโพสต์สิ )

แล้วก็ ข้อ log

ผมใช้วิธีถึกเอาเลยครับ คิดไม่เยอะมาก แต่เขียนเยอะ ขี้เกียจพิมพ์ ก็คือ เปลี่ยนฐาน log แล้วคูณไขว้ บลา บลา บลา อย่างบ้าคลั่ง

จะได้

$log x = log 108 , log 9$

$x = 108 , 9$

$a+b = 108+9 = 117$
__________________
เมื่อไรเราจะเก่งเลขน้าาาาาา ~~~~

T T

ไม่เก่งซักที ทำไงดี
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #41  
Old 01 พฤษภาคม 2009, 13:10
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

สมาคม2549ครับ
จงหาจำนวนจริงบวก a ค่าน้อยที่สุดที่ทำให้
$$\int_0^{2\pi} |\sin (x+2549a)-\sin (x+2006a)| dx$$
มีค่าสูงสุด
ช่วยอธิบายหน่อยครับ ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #42  
Old 09 พฤษภาคม 2009, 20:46
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ขอปลุกหน่อยนะครับ ช่วยคิดข้ออินทิเกรตข้างบนหน่อยครับ และขอถามอีกข้อครับ
Prove that $$\lim_{\theta \to 0} \dfrac{\sin \theta}{\theta}=1$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #43  
Old 09 พฤษภาคม 2009, 21:03
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
ขอปลุกหน่อยนะครับ ช่วยคิดข้ออินทิเกรตข้างบนหน่อยครับ และขอถามอีกข้อครับ
Prove that $$\lim_{\theta \to 0} \dfrac{\sin \theta}{\theta}=1$$
1.ข้อ อินติเกรตให้เปลี่ยนรูป sin ลบกันให้อยู่ในรูปผลคูณ จะเห็นว่าจะมีค่าคงที่ที่สามารถดึงออกมาจากอินติเกรตได้แล้วพิจารณาค่าตรงนั้นที่ทำให้ค่ามันสูงสุด
2. $$\lim_{\theta \to 0} \dfrac{\sin \theta}{\theta}=1$$ ใช้กฎของโลปิตาล ก็ออกแล้วครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #44  
Old 09 พฤษภาคม 2009, 21:22
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ข้อสองใช้ โลปิตาลออกจริงด้วยลืมนึกไปครับ ขอบคุณครับ ส่วนข้อแรกเดี๋ยวดูใหม่ครับ
$$\dfrac{\frac{d}{d\theta }\sin \theta}{\frac{d}{d\theta } \theta }=\dfrac{\cos \theta }{1}$$
$$\therefore \lim_{\theta \to 0} \dfrac{\sin \theta }{\theta} =\lim_{\theta \to 0} \cos \theta =1$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #45  
Old 09 พฤษภาคม 2009, 21:32
beginner01 beginner01 ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 15 กันยายน 2008
ข้อความ: 177
beginner01 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
ต่อกันดีกว่าครับ(สงสัยจะไม่นิดตามชื่อกระทู้แล้วอิอิ)
กำหนด $a=1(1!)+2(2!)+3(3!)+...+2549(2549!)$ และ $b=\frac{1}{2!}+\frac{3}{4!}+\frac{5}{6!}+...+\frac{2549}{2550!}$
จงหาค่าของ $\frac{a}{b}$ ในรูปของแฟคทอเรียล
เป็น $\frac{a}{b}$ ที่โหดมากครับ หลังจากปวดหัวอยู่สักพัก จนลองใช้คอมคิด ได้จาก mathematica ว่า
$\frac{a}{b}=((-1 + (2550)!) (2552)! (2554)!)/(-(2551) (2554)!$ HypergeometricPFQ$[{1}, {1276.5,1277}, 1/
4] + (1/e)(2552)! ((-1 + e) (2554)! -
2e$ HypergeometricPFQ$[{2}, {1277.5,1278}, 1/4]))$

โหดจริง
HypergeometricPFQ:
http://functions.wolfram.com/Hyperge...rgeometricPFQ/

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
ขอปลุกหน่อยนะครับ ช่วยคิดข้ออินทิเกรตข้างบนหน่อยครับ และขอถามอีกข้อครับ
Prove that $$\lim_{\theta \to 0} \dfrac{\sin \theta}{\theta}=1$$
อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ หยินหยาง View Post
...
2. $$\lim_{\theta \to 0} \dfrac{\sin \theta}{\theta}=1$$ ใช้กฎของโลปิตาล ก็ออกแล้วครับ
ส่วนข้อนี้... ถ้าจะให้ถูกจริงๆ อย่าใช้กฎ L'Hopital ครับ เพราะว่าการให้ตรรกะมันจะเป็นงูกินหาง ดังนี้
การหาค่าอนุพันธ์ของ $\sin{x}$ จะใช้ตรง $$\lim_{\theta \to 0} \dfrac{\sin \theta}{\theta}=1$$ ซึ่งถ้าใช้กฎของ L'Hopital พิสูจน์ ก็จะต้องดิฟตัว $\sin{x}$ มันถึงเป็นงูกินหางครับ

เท่าที่ผมเคยเห็น ก็จะใช้วิธีทางเรขาคณิตเข้าช่วย ก็คือ พิจารณาวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีจุดศูนย์กลางที่จุดกำเนิด แล้วก็วาด sector ที่มีมุมขนาด $\theta$ สมมติให้เป็น sector OAB ลากส่วนของเส้นตรง AB แล้วพิจารณาพื้นที่สามเหลี่ยม OAB กับ พื้นที่ sector OAB โดยสังเกตว่าพื้นที่สามเหลี่ยม เล็กกว่าพื้นที่ sector และ พท.สามเหลี่ยม OAB=$\frac{1}{2}\sin{\theta}$ และพท.sector OAC=$\frac{1}{2}\theta$
ค่อไปลากเส้นสัมผัสวงกลมที่จุด A กับเส้นตรง OB ตัดกันที่จุด C
ถ้าลองวาดรูปดูจะเห็นว่า พท.สามเหลี่ยม OAC มากกว่า พท. sector OAB และ พท.สามเหลี่ยม OAC=$\frac{1}{2}\tan{\theta}$
ดังนั้น $\displaystyle\frac{1}{2}\sin{\theta}<\frac{1}{2}\theta<\frac{1}{2}\tan{\theta}$
นั่นคือ $\displaystyle 1<\frac{\theta}{\sin{\theta}}<\frac{tan{\theta}}{\sin{\theta}}=\frac{1}{\cos{\theta}}$
ก็คือ $\displaystyle\cos{\theta}<\frac{\sin{\theta}}{\theta}<1$
take limit ให้ $\theta$ เข้าใกล้ $0$ จาก squeeze theorem ได้ว่า $\displaystyle\lim_{\theta \to 0} \dfrac{\sin \theta}{\theta}=1$ ตามต้องการ

จริืงๆแล้วมีคนจำนวนมากเข้าใจผิดว่าของแบบนี้จัดการได้ด้วยกฎ L'Hopital ซึ่งเหตุผลได้กล่าวไว้ข้างต้นแล้วครับ
__________________
จะคิดเลขก็ติดขัด จะคิดรักก็ติดพัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 21:46


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha