Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 17 สิงหาคม 2001, 17:48
Spinor Spinor ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 สิงหาคม 2001
ข้อความ: 4
Spinor is on a distinguished road
Icon15 f(x)=|x| exp(-|x|*Squareroot(|sin x|)) ???

อยากทราบว่าจะพิสูจน์...
1) f(x)=|x| exp(-|x|*Squareroot(|sin x|)) ไม่มี limit |x|->infinity

2) Intigrate |f(x)|^2 จาก -infinity ถึง infinity มีค่า finite

ได้อย่างไร?
__________________
???
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 18 สิงหาคม 2001, 15:29
TOP's Avatar
TOP TOP ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 มีนาคม 2001
ข้อความ: 1,003
TOP is on a distinguished road
Icon23

1) จาก f(x) = |x| e-|x||sin(x)|
พิจารณาค่า f(x) เมื่อ x = 2np จะพบว่า f(x) = |x|
\ limx , x = 2np f(x) =
และ limx , x 2np f(x) = 0
ค่าลิมิตที่ได้มีการแกว่งไปมา จึงสรุปว่า limx f(x) หาค่าไม่ได้

2) รอให้น้องคนอื่นมาช่วยคิดบ้าง เดี๋ยวจะไม่มีอะไรคิดกัน
__________________
The difference between school and life?
In school, you're taught a lesson and then given a test.
In life, you're given a test that teaches you a lesson.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 21 สิงหาคม 2001, 15:17
Spinor Spinor ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 สิงหาคม 2001
ข้อความ: 4
Spinor is on a distinguished road
Icon22

ข้อ 2 ยากกว่าข้อ 1 อีกครับ...

จนป่านนี้ยังคิดวิธีพิสูจน์ไม่ออกเลย
__________________
???
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 22 สิงหาคม 2001, 20:55
<กาแฟ>
 
ข้อความ: n/a
Post

1) พิจารณา f(x) เมื่อ x = n Pi โดยที่ n เป็นจำนวนเต็ม
จะเห็นว่า f(n Pi) = |n| Pi ซึ่งไม่มี bound
f(x) จึงไม่มีลิมิตเมื่อ x -> Infinity

2) การที่ f(x) ไม่มี bound รอบจุดๆ หนึ่ง
ไม่ได้แปลว่า f(x) จะไม่มีค่าอินทิกรัลรอบจุดนั้นเสมอไป
ตัวอย่างเช่น f(x) = 1/sqrt(|x|) ซึ่งไม่มี bound ที่ x = 0 แต่ยังมีค่าอินทิกรัล

ทำนองเดียวกัน ปัญหาของการอินทิเกรต (f(x))^2 อยู่ที่จุด x = n Pi ตามข้อ 1 ซึ่งฟังก์ชันไม่มีขอบเขต

f(n Pi) = |n| Pi ~ n
ดังนั้น [f(n Pi)] ~ n^2
นึกถึงสามเหลี่ยมที่มีส่วนสูงเป็น n^2 ถ้าสร้างฐานสัก 1/n^4 จะได้พื้นที่ ~ 1/n^2 ซึ่งสามารถหาผลรวมได้ เพราะฉะนั้นอินทิกรัลในช่วง
(nPi - 1/n^4, nPi + 1/n^4) มีค่าจำกัด (ทำไม?)

เนื่องจาก symmetry ของ f(x) จึงเพียงพอที่จะแสดง convergence ของ f(x) เฉพาะ x > 0
พิจารณาช่วง ((n-1)Pi + 1/(n-1)^4, nPi - 1/n^4)

ถ้า x อยู่ในช่วงดังกล่าว x^2 < (nPi)^2
สนใจเฉพาะ n^2 ก็พอ (ทำไม?)

sin x > 1/n^4 (ทำไม?)
อินทิกรัล < (nPi)^2 Integrate(exp(-2x)/n^2)
~ n^4 exp(-nPi) (ทำไม?)

ปัญหาอยู่ที่ว่า sum n^4 exp(-nPi) convergent
หรือไม่ ซึ่งพิจารณาได้ง่ายมากว่า convergent (ทำไม?)

สรุป: Integral ของ (f(x))^2 มีค่าจำกัด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 23 สิงหาคม 2001, 18:48
Spinor Spinor ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 สิงหาคม 2001
ข้อความ: 4
Spinor is on a distinguished road
Icon21

ยังไม่ค่อยเข้าใจ idea ในการพิสูจน์เท่าไร แต่ขอบคุณมากครับ...
อ้อ!... แล้วสามารถหาค่า integral ในข้อ 2 ออกมาได้หรือปล่าวครับ ว่าเป็นเท่าไร?
__________________
???
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 28 สิงหาคม 2001, 15:03
<กาแฟ>
 
ข้อความ: n/a
Post

ถ้าหมายถึงค่าอินทิกรัลแบบ closed form
ไม่คิดว่าจะหาได้
แต่ถ้าจะหาค่าแบบ numerical ก็เป็นไปได้
(แต่ก็คงยากเหมือนกัน เพราะคิดว่า converge
ค่อนข้างช้า)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
|.ต้องการแนวคิดครับ.| Tony คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 8 12 ธันวาคม 2005 11:35


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:07


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha