Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย > ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 03 กันยายน 2011, 08:07
AK/Pain AK/Pain ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 พฤศจิกายน 2008
ข้อความ: 29
AK/Pain is on a distinguished road
Default ข้อสอบ มอ.วิชาการ




]

ข้อ 6 โจทย์ผิดนะครับ

09 กันยายน 2011 19:18 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 6 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ AK/Pain
เหตุผล: ภาพใหญ่
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 03 กันยายน 2011, 08:59
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ18
$\frac{a+b-c}{c}= \frac{a-b+c}{b}= \frac{b+c-a}{a} $

$\frac{a+b}{c}-1= \frac{a+c}{b}-1= \frac{b+c}{a}-1 $

$\frac{a+b}{c}= \frac{a+c}{b}= \frac{b+c}{a} =k$

$\frac{a+b}{c}\times \frac{a+c}{b}\times \frac{b+c}{a} =k^3$

$(a+b)(b+c)(a+c)=k^3(abc)$


$\frac{a+b}{c}= \frac{a+c}{b}= \frac{b+c}{a} =k$ จะได้ว่า
$a+b=ck,a+c=bk,b+c=ak$
$(a+b)+(a+c)+(b+c)=ck+bk+ak=(a+b+c)k$
$2(a+b+c)=k(a+b+c)$....เมื่อ $a+b+c\not= 0$
$k=2$
จะได้ว่า$(a+b)(b+c)(a+c)=8abc$

ถ้า$a+b+c=0$...จะได้ค่า $k=-1$
จะได้ว่า$(a+b)(b+c)(a+c)=-abc$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 03 กันยายน 2011, 09:02
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ19....เคยมีคนเอามาถามในบอร์ดแล้ว
อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย View Post
เหลือข้อ 5. ผมลองแจมด้วยนะครับ
จากเอกลักษณ์ $sec^2x-tan^2x=1$ และ $COSEC^2X-COT^X=1$
จะได้ว่า $sec^2(A+B)+cosec^2(A-B)=2$
จัดรูปเป็น$1+tan^2(A+B)+1+cot^2(A-B)=2$
$tan^2(A+B)+cot^2(A-B)=0$
เป็นจริงเมื่อ $tan(A+B)=0 และ cot(A-B)=0$
หรือ $sin(A+B)=0 และ COS(A-B)=0$
จะได้ $A=45^0 กับ B=315^0$
$2sinBcosA=-1$
ในกระืทู้นี้.....ปัญหาตรีโกณมิติอีกแล้วครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 03 กันยายน 2011, 09:06
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ11....มีคนเอามาถามในบอร์ดแล้ว รู้สึกว่าคุณgonจะเฉลยแล้วได้เซตว่าง

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post
ข้อหนึ่ง ถ้าผมคิดไม่ผิดพลาด คำตอบที่เป็นจำนวนจริงไม่น่าจะมีนะครับ.

สำหรับข้อ 1 นั้น เคยมีคนถามไปครั้งหนึ่งแล้วครับ.

ปัญหาตรีโกณมิติอีกแล้วครับ


ปล. มีหนังสือตรีโกณเพื่อชาติในท้องตลาดด้วยหรือเปล่าครับ
ในกระทู้นี้......โจทย์ตรีโกณ 2 ข้อเพื่อชาติ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

03 กันยายน 2011 09:06 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 03 กันยายน 2011, 09:31
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

10.$\cos(x+\frac{\pi}{3} )=\frac{1}{2}( \cos x)-\frac{\sqrt{3} }{2} (\sin x)$

$\sin x+\sqrt{3} \cos x=\sec (x+\frac{\pi}{3} )$
$(\sin x+\sqrt{3} \cos x)(\cos(x+\frac{\pi}{3} ))=1$
$(\sin x+\sqrt{3} \cos x)(\cos x-\sqrt{3} \sin x)=2$
$\sqrt{3}(\cos^2 x-\sin^2x)-2\sin x \cos x=2$
$\sqrt{3}(\cos 2x)-\sin 2x =2$
$\frac{\sqrt{3}}{2} (\cos 2x)-\frac{1}{2} (\sin 2x) =1$
$\cos \frac{\pi}{6}(\cos 2x)-\sin \frac{\pi}{6}(\sin 2x)=\cos 2\pi $
$\cos(\frac{\pi}{6}+2x)=\cos 0 =\cos 2\pi$
$\frac{\pi}{6}+2x=2n\pi$ เมื่อ $n=0,1,2,3,...$
$\frac{\pi}{12}+x=n\pi$
$x=-\frac{\pi}{12}+n\pi$ เมื่อ $n=0,1,2,3,...$


อีกวิธีหนึ่งแปลง
$\sin x+\sqrt{3} \cos x=2\left(\,\frac{1}{2}(\sin x) +\frac{\sqrt{3}}{2}(\cos x)\right) $

$=2\left(\,\cos \frac{\pi}{3}(\sin x) +\sin \frac{\pi}{3}(\cos x)\right)$

$=2\sin(x+\frac{\pi}{3})$

$(2\sin(x+\frac{\pi}{3}))(\cos(x+\frac{\pi}{3} ))=1$

$=\sin2(x+\frac{\pi}{3})=\sin \frac{\pi}{2} $

$2(x+\frac{\pi}{3})=\frac{\pi}{2}+2n\pi$ เมื่อ $n=0,1,2,3,...$

$x+\frac{\pi}{3}=\frac{\pi}{4}+n\pi$

$x=-\frac{\pi}{12}+n\pi$ เมื่อ $n=0,1,2,3,...$

โจทย์จำกัดว่า$\left[\,0,2\pi\right] $

$x=\frac{11\pi}{12},\frac{23\pi}{12} $
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

03 กันยายน 2011 18:08 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 5 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 03 กันยายน 2011, 10:10
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

16.$5\tan A=\tan(A+B)$........... $\frac{\sin(2A+B)}{\sin B} =?$

$\sin(2A+B)=\sin2A \cos B+\cos 2A \sin B$

$=2\sin A \cos A \cos B+(1-2\sin^2A)\sin B$

$2\sin A \cos A \cos B-2\sin^2A\sin B=\sin(2A+B)-\sin B$

$5\frac{\sin A}{\cos A} =\frac{\sin (A+B)}{\cos (A+B)}=\frac{\sin A \cos B+ \cos A \sin B}{\cos A \cos B-\sin A \sin B} $

$5\sin A\cos A \cos B-5\sin^2 A\sin B =\cos A \sin A \cos B+ \cos^2 A \sin B$

$2\left(\,2\sin A \cos A \cos B-2\sin^2 A\sin B\right) +\sin A\cos A \cos B-\sin^2 A\sin B=\cos A \sin A \cos B+ \cos^2 A \sin B$

$2\sin(2A+B)-2\sin B= \sin B$

$\frac{\sin(2A+B)}{ \sin B}=3 $

ลืมสปส.หน้าพจน์.....คำตอบที่ถูกคือ $\frac{\sin(2A+B)}{ \sin B}=\frac{๓}{๒} $
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

03 กันยายน 2011 17:53 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 8 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 03 กันยายน 2011, 15:14
AK/Pain AK/Pain ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 พฤศจิกายน 2008
ข้อความ: 29
AK/Pain is on a distinguished road
Default

เอ่อข้อ 10 เอาเฉพาะช่วง [0,2\pi ] นะ
ส่วนข้อ 16 รู้สึกผมจะคิดได้ \frac{3}{2}
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 03 กันยายน 2011, 17:51
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

โทษทีครับ พอดีรีบทำรีบโพสเพราะวันนี้มานั่งอยู่ร้านเกม ที่นนทบุรี เดี๋ยวแก้คำตอบใหม่ครับ
พอดีชั่วโมงเนตมันครบ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

03 กันยายน 2011 18:08 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 03 กันยายน 2011, 18:25
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ 8.
$\sqrt[3]{3+x}+ \sqrt[3]{3-x}=\sqrt[3]{3} $
ให้ $\sqrt[3]{3+x}=A$
$\sqrt[3]{3-x}=B$
$A^3+B^3=6$
$(A+B)^3=A^3+B^3+3AB(A+B)$
$3=6+3(\sqrt[3]{3})(\sqrt[3]{9-x^2} )$
$(\sqrt[3]{3})(\sqrt[3]{9-x^2} )=-1$
$27-3x^2+1=0$
$3x^2-28=0$
$x=\pm2\sqrt{\frac{7}{3}} \approx \pm 3.05 $
เหลือคำตอบเดียวคือ $x=-2\sqrt{\frac{7}{3}}$

คำตอบมีทั้งบวกและลบครับ เพราะลืมดูไปว่าค่า $x$ ติดในรากที่สาม
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

09 กันยายน 2011 06:19 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 03 กันยายน 2011, 19:17
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Talking

คุณกิตติ เก็บซะหมดเลยครับสุดยอดครับ

จะมาเติมข้อ 18

$\dfrac{a+b}{c}=\dfrac{b+c}{a}=\dfrac{c+a}{b}=k$

$(a+b+c)(2-k)=0$

จะได้ $k=2$ ได้คำตอบเป็น 8

และก็จะได้คำตอบที่คุณกิตติตอบครับ
__________________
no pain no gain
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 03 กันยายน 2011, 19:25
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ทำเท่าที่ทำได้ครับ ตอนนี้นั่งที่ท่ารถทัวร์ เล่นเนตบุ๊คของแฟนครับ เดี๋ยวใกล้สองทุ่มคงไม่ได้เข้ามาแล้วครับ
ท่านไหนว่าง เชิญโซ้ยต่อครับ ยังมีอีกหลายข้อครับ
จริงๆในHall เขาเขียนว่า
$\frac{a}{b}= \frac{c}{d}= \frac{e}{f}= \frac{g}{h}=...=k $
แล้ว
$\frac{a+c+e+g+...}{b+d+f+h+...}=k $
จับเศษบวกกัน จับส่วนบวกันเลยก็ได้ครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

09 กันยายน 2011 06:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 03 กันยายน 2011, 19:56
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,036
lek2554 is on a distinguished road
Default

ข้อ 16 เป็น IMO 2540 เมื่อก่อนโรงเรียนเตรียมฯ ชอบเอาไปออกข้อสอบ เสนออีกแนวหนึ่งครับ

$ktanA=tan(A+B)$
$k\dfrac{sinA}{cosA} =\dfrac{sin(A+B)}{cos(A+B)} $

$ksinAcos(A+B)=cosAsin(A+B)$

$ksinAcos(A+B)+kcosAsin(A+B)=(k+1)cosAsin(A+B)$

$ksin(2A+B)=(k+1)cosA(sinAcosB+cosAsinB)$

$ksin(2A+B)=(k+1)(sinAcosAcosB+cos^2AsinB)$

$2ksin(2A+B)=(k+1)(2sinAcosAcosB+2cos^2AsinB)$

$2ksin(2A+B)=(k+1)(sin2AcosB+(1+cos2A)sinB)$

$2ksin(2A+B)=(k+1)(sin2AcosB+cos2AsinB+sinB)$

$2ksin(2A+B)=(k+1)(sin(2A+B)+sinB)$

$2ksin(2A+B)=(k+1)sin(2A+B)+(k+1)sinB$

$(k-1)sin(2A+B)=(k+1)sinB$

$\dfrac{sin(2A+B)}{sinB}=\dfrac{k+1}{k-1} $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 03 กันยายน 2011, 21:01
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Exclamation

#6, #12
คุณหมอเริ่มเห็นว่าโจทย์ที่ถามล้วนเป็นโจทย์ที่เคยถามมาก่อน อีกหน่อยกคงไม่ตอบซิ หรือจะเป็นแบบท่าน สว. คือเห็นโจทย์เหมือนฆ่าศึก แต่สมาชิกได้ประโยชน์

ข้อ 16 ผมเสนอวิธีของคนขี้เกียจ

$\frac{\sin(2A+B)}{\sin B} = \frac{\sin((A+B)+A)}{\sin ((A+B)-A)}$

$= \frac{\sin(A+B) \cos A+ \cos (A+B) \sin A}{\sin(A+B) \cos A- \cos (A+B) \sin A}$

$= \frac{\frac{\sin(A+B) \cos A+ \cos (A+B) \sin A}{\cos(A+B) \cos A} }{\frac{\sin(A+B) \cos A- \cos (A+B) \sin A}{\cos(A+B) \cos A} } = \frac{\tan (A+B)+\tan A}{\tan (A+B)-\tan A} = \frac{6\tan A}{4\tan A} = \frac{3}{2} $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 03 กันยายน 2011, 21:39
AK/Pain AK/Pain ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 พฤศจิกายน 2008
ข้อความ: 29
AK/Pain is on a distinguished road
Default

คุณหยินหยางคิดเหมือนผมตอนสอบเลย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 04 กันยายน 2011, 05:14
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ขอบคุณพี่เล็กกับท่านซือแป๋หยินหยางที่ได้สละเวลาเขียนเทคนิคแก้โจทย์ให้ดูครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 12:03


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha