Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 25 กุมภาพันธ์ 2009, 19:29
Scylla_Shadow's Avatar
Scylla_Shadow Scylla_Shadow ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 1,151
Scylla_Shadow is on a distinguished road
Default โจทย์น่าทำ เป็นเกร็ดความรู้ด้วย

ผมทดลองคิดขึ้นเอง คิดว่ามันคงน่าสนุกนะครับ ไม่ง่าย และ ไม่ยากเกินไป

1. อสมการ $(x_1x_2x_3...x_n)^{\frac{1}{n}} \leqslant \frac{x_1+x_2+x_3+..+x_n}{n} $

จากอสมการ จงหาพื้นที่ที่มากที่สุดของสามเหลี่ยมที่มีความยาวรอบรูป n หน่วย

และ พื้นที่มากที่สุดนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อใด


2. (ข้อนี้ห้ามใช้ อสมการที่เกินหลักสูตร ม.ต้นมากเกินไป ให้ใช้แค่อสมการพื้นฐานมากๆ ย้ำว่าแค่พื้นฐาน)

แล้วค่าต่ำสุดของ $\frac{a}{b}+\frac{c}{d}+\frac{e}{f}+\frac{4b}{a}+\frac{9d}{c}+\frac{16e}{f}$

เกิดขึ้นเมื่อ a,b,c,d,e,f มีค่าเท่าใด เมื่อ a,b ไม่เป็นจำนวนบวก

c,d มีจำนวนใดจำนวนหนึ่งเป็นจำนวนเต็ม

e,f ไม่มีจำนวนใดเป็นจำนวนลบ

*3. กำหนดสมการ $\frac{a}{b}+\frac{b}{c}+\frac{c}{d}+\frac{d}{a} \ = \ 5$ และอสมการ

$\frac{a}{b}-\frac{b}{c} > 0$ , $\frac{b}{c}-\frac{c}{d} < 0$

$\frac{c}{d}-\frac{d}{a} > 0$ , $\frac{d}{a}-\frac{a}{b} < 0$

แล้ว จงหาผลรวมค่าของ $(\frac{(ad+bc)(ab+cd)}{abcd})^2$ ที่เป็นไปได้ทุกกรณี เมื่อ $\frac{ad+bc}{bd}$ เป็นจำนวนเต็มบวก*

แถม. จำนวน k หลักที่ทุกหลักเป็นเลขเดียวกันสามารถหารลงตัวด้วย 27 , 81 , 243 , 729 ลงตัว

แล้วค่า k ที่น้อยที่สุดเป็นอันดับ 3 คือเท่าใด

โจทย์ทุกข้อเช็คแล้วนะครับ โจทย์มีคำตอบ และโจทย์ไม่ผิด

หมายเหตุ: * เนื่องจากโจทย์มีข้อผิดพลาด ทำให้คำตอบมีเป็นอนันต์ดังนั้น จึงขอสรุปว่า ข้อนี้ไม่สามารถหาค่าตามที่โจทย์สั่งได้ เนื่องจากค่าที่โจทย์สั่งมีเป็นอนันต์

26 กุมภาพันธ์ 2009 21:11 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 6 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Scylla_Shadow
เหตุผล: แก้ข้อผิดพลาด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 12:07
Platootod Platootod ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 มกราคม 2009
ข้อความ: 643
Platootod is on a distinguished road
Default

(x_1x_2x_3...x_n)
หมายความว่าไงคับ
__________________
ปีหน้าฟ้าใหม่ จัดกันได้ที่ค่ายฟิสิกส์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 12:42
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย's Avatar
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 647
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย is on a distinguished road
Default

ข้อ 1 .ครับ เกิดเมื่อเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า
มีความยาวด้านละ n/3 หน่วย
พื้นที่มากที่สุด คือ 3^0.5(n/3)^2/4 ตารางหน่วยครับ

ข้อ 2 ตอบ 9 ครับ

ข้อ3. ครับ a=2 b=1 c=2 d=1 กรณีแรกครับ
และ a=-2 b=-1 c=-2 d=-1 กรณีที่ 2ครับ
ตอบ 32 ไหมครับ

26 กุมภาพันธ์ 2009 13:37 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: triple post
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 14:34
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

มารอดูดความรู้
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 15:17
Scylla_Shadow's Avatar
Scylla_Shadow Scylla_Shadow ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 1,151
Scylla_Shadow is on a distinguished road
Default

ตอบคำถามคุณ platootod หมายถึง $x_1คูณx_2คูณx_3...คูณx_n$

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย View Post
ข้อ 1 .ครับ เกิดเมื่อเป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า
มีความยาวด้านละ n/3 หน่วย
พื้นที่มากที่สุด คือ 3^0.5(n/3)^2/4 ตารางหน่วยครับ

ข้อ 2 ตอบ 9 ครับ

ข้อ3. ครับ a=2 b=1 c=2 d=1 กรณีแรกครับ
และ a=-2 b=-1 c=-2 d=-1 กรณีที่ 2ครับ
ตอบ 32 ไหมครับ
ข้อแรก ถูกครับ แต่คำตอบทำให้เป็นรูปอย่างง่ายก็ดีนะครับ

ข้อสอง ไม่ถูกครับ

ข้อ 3. ไม่ถูกครับ

ปล. คำตอบข้อแรกคือ $\frac{n^2}{12\sqrt{3}}$

26 กุมภาพันธ์ 2009 15:22 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Scylla_Shadow
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 15:17
SiR ZigZag NeaRton's Avatar
SiR ZigZag NeaRton SiR ZigZag NeaRton ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 ธันวาคม 2008
ข้อความ: 347
SiR ZigZag NeaRton is on a distinguished road
Default

ช่วยแสดงวิธีทำให้ดูหน่อยครับ ผมงงมากมาย
__________________
คุณอาจจะค้นพบสุดปลายจักรวาล
แต่คุณยังไม่ค้นพบ 3 cm.ที่หน้าอกด้านซ้ายในตัวคุณเลย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 17:32
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย's Avatar
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 647
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย is on a distinguished road
Default

ข้อ 2 คิดเร็วไปครับ น่าจะตอบ 4-6+8 = 6 นะครับ
ผมลืมอ่านเงื่อนไขไป ขอโทษด้วยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 18:18
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ banker View Post
มารอดูดความรู้
ผมมารอตั้งนานแล้วเหมือนกัน แต่ดูดความรู้ไม่ได้สักที นึกว่าง่ายเหมือนดูดน้ำ ยังไงก็ช่วยสอนวิธีดูดความรู้กันบ้างนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 19:48
Let it be Let it be ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 มกราคม 2009
ข้อความ: 77
Let it be is on a distinguished road
Default

ข้อ 3 โจทย์น่าจะผิดนะขอรับ ลองเช็กดูครับ ผิดที่ได้ว่ามีจำนวนไม่จำกัด

เช่น ในกรณีที่ $\frac{a}{b}=4.5,\frac{b}{c}=-0.5+\sqrt{297}/54,\frac{c}{d}=1.5,\frac{d}{a}=-0.5-\sqrt{297}/54$
ได้ว่าผลลัพธ์ในกรณีนี้คือ $((6)(-1))^2 = 36$

หรือ $\frac{a}{b}=5.5,\frac{b}{c}=-1+\sqrt{957}/33,\frac{c}{d}=1.5,\frac{d}{a}=-1-\sqrt{957}/33$
ได้ว่าผลลัพธ์ในกรณีนี้คือ $((7)(-2))^2 = 196$

เช่นนี้ไปเรื่อย ๆ คำตอบคือ $((a)(5-a))^2$ เมื่อ a มีค่าตั้งแต่ 6 เป็นต้นไป

อีกอันคือ $\frac{a}{b}=2,\frac{b}{c}=0.5,\frac{c}{d}=2,\frac{d}{a}=0.5$ ได้ค่านั้นคือ 16
__________________
Speaking words of wisdom, let it be ...
$$\sqrt{\frac{m_n}{m_e}}\cong\frac{3}{\sqrt{\varphi}+\zeta(3)}$$, where $m_n$ be the neutron mass, $m_e$ be the electron mass and $\varphi$ be the golden ratio.

26 กุมภาพันธ์ 2009 20:13 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Let it be
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 19:58
Puriwatt's Avatar
Puriwatt Puriwatt ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2006
ข้อความ: 1,435
Puriwatt is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ หยินหยาง View Post
ผมมารอตั้งนานแล้วเหมือนกัน แต่ดูดความรู้ไม่ได้สักที นึกว่าง่ายเหมือนดูดน้ำ ยังไงก็ช่วยสอนวิธีดูดความรู้กันบ้างนะครับ
ผมว่าความรู้คงดูดกันยากนะครับ เพราะเป็นนามธรรม(มีแต่ชื่อ) ไม่รู้ว่าว่าอยู่ตรงไหนเลยดูดไม่ถูกครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 20:14
Puriwatt's Avatar
Puriwatt Puriwatt ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2006
ข้อความ: 1,435
Puriwatt is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย View Post
ข้อ 2 คิดเร็วไปครับ น่าจะตอบ 4-6+8 = 6 นะครับ
ผมลืมอ่านเงื่อนไขไป ขอโทษด้วยครับ
น่าจะตอบ 4-6+0 = -2 ครับ, ลองดูโจทย์ใหม่อีกครั้งนะครับ

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Scylla_Shadow View Post
2. ค่าต่ำสุดของ $\frac{a}{b}+\frac{c}{d}+\frac{e}{f}+\frac{4b}{a}+\frac{9d}{c}+\frac{16e}{f}$

เกิดขึ้นเมื่อ a,b,c,d,e,f มีค่าเท่าใด เมื่อ a,b ไม่เป็นจำนวนบวก

c,d มีจำนวนใดจำนวนหนึ่งเป็นจำนวนเต็ม

e,f ไม่มีจำนวนใดเป็นจำนวนลบ
เพราะชุดสุดท้ายเป็น $\frac{e}{f}+\frac{16e}{f}= \frac{17e}{f} \geqslant 0 $ ตามเงื่อนไขครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 20:55
Scylla_Shadow's Avatar
Scylla_Shadow Scylla_Shadow ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 1,151
Scylla_Shadow is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Scylla_Shadow View Post
...
3. กำหนดสมการ $\frac{a}{b}+\frac{b}{c}+\frac{c}{d}+\frac{d}{a} \ = \ 5$ และอสมการ

$\frac{a}{b}-\frac{b}{c} > 0$ , $\frac{b}{c}-\frac{c}{d} < 0$

$\frac{c}{d}-\frac{d}{a} > 0$ , $\frac{d}{a}-\frac{a}{b} < 0$

แล้ว จงหาผลรวมค่าของ $(\frac{(ad+bc)(ab+cd)}{abcd})^2$ ที่เป็นไปได้ทุกกรณี เมื่อ $\frac{ad+bc}{bd}$ เป็นจำนวนเต็มบวก
...โจทย์ทุกข้อเช็คแล้วนะครับ โจทย์มีคำตอบ และโจทย์ไม่ผิด

จาก อสมการจะได้ว่า $\frac{a}{b}+\frac{c}{d} > \frac{b}{c}+\frac{d}{a}$

และก้อนสมการด้านหลังสุดจะได้ว่า $\frac{a}{b}+\frac{c}{d}$ เป็นจำนวนเต็ม

จากสมการด้านหน้านะครับ จะได้ค่าของ $\frac{b}{c}+\frac{d}{a}$ 2 ค่าด้วยกันคือ 2 , 1

โดย $\frac{b}{c}+\frac{d}{a}$ จะเป็น 2 เมื่อ $\frac{a}{b}+\frac{c}{d}$ = 3

และ $\frac{b}{c}+\frac{d}{a}$ จะเป็น 1 เมื่อ $\frac{a}{b}+\frac{c}{d}$ = 4

และก้อนที่โจทย์ถามก็คือ $(\frac{a}{b}+\frac{c}{d})(\frac{b}{c}+\frac{d}{a})$ ทั้งหมดยกกำลังสอง

ซึ่งมีค่าอยู่ 2 ค่าคือ 36 และ 16 ผลรวมคือ 52
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 20:59
Let it be Let it be ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 มกราคม 2009
ข้อความ: 77
Let it be is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Scylla_Shadow View Post
จาก อสมการจะได้ว่า $\frac{a}{b}+\frac{c}{d} > \frac{b}{c}+\frac{d}{a}$

และก้อนสมการด้านหลังสุดจะได้ว่า $\frac{a}{b}+\frac{c}{d}$ เป็นจำนวนเต็ม

จากสมการด้านหน้านะครับ จะได้ค่าของ $\frac{b}{c}+\frac{d}{a}$ 2 ค่าด้วยกันคือ 2 , 1

โดย $\frac{b}{c}+\frac{d}{a}$ จะเป็น 2 เมื่อ $\frac{a}{b}+\frac{c}{d}$ = 3

และ $\frac{b}{c}+\frac{d}{a}$ จะเป็น 1 เมื่อ $\frac{a}{b}+\frac{c}{d}$ = 4

และก้อนที่โจทย์ถามก็คือ $(\frac{a}{b}+\frac{c}{d})(\frac{b}{c}+\frac{d}{a})$ ทั้งหมดยกกำลังสอง

ซึ่งมีค่าอยู่ 2 ค่าคือ 36 และ 16 ผลรวมคือ 52
เอ่อ ดูตัวอย่างค้านท์ของผมก่อนดิครับ ใน #9

อีกอย่างที่ผมจะบอก $\frac{a}{b}+\frac{c}{d}=3$ กับ $\frac{b}{c}+\frac{d}{a}=2$ ไม่มีคำตอบนะครับ ดังนั้น ตัด 36 ทิ้งไปได้
__________________
Speaking words of wisdom, let it be ...
$$\sqrt{\frac{m_n}{m_e}}\cong\frac{3}{\sqrt{\varphi}+\zeta(3)}$$, where $m_n$ be the neutron mass, $m_e$ be the electron mass and $\varphi$ be the golden ratio.

26 กุมภาพันธ์ 2009 21:04 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Let it be
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 21:08
Scylla_Shadow's Avatar
Scylla_Shadow Scylla_Shadow ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 1,151
Scylla_Shadow is on a distinguished road
Default

อ๋อครับ ต้องขออภัยจริงๆครับ ผมก็กำลังงๆกับตัวเองอยู่ครับ

วันนี้ไปพบครู ครูก็ค้านมาครับ ดังนั้นข้อนี้ ผมขอเสนอคำตอบว่า ไม่สามารถหาค่าได้

และขอขอบคุณคุณ let it be มากๆครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 26 กุมภาพันธ์ 2009, 21:19
Let it be Let it be ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 มกราคม 2009
ข้อความ: 77
Let it be is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Scylla_Shadow View Post
อ๋อครับ ต้องขออภัยจริงๆครับ ผมก็กำลังงๆกับตัวเองอยู่ครับ

วันนี้ไปพบครู ครูก็ค้านมาครับ ดังนั้นข้อนี้ ผมขอเสนอคำตอบว่า ไม่สามารถหาค่าได้

และขอขอบคุณคุณ let it be มากๆครับ
ไม่เป็นไรครับ ที่จริงโจทย์ข้อนี้ก็น่าสนใจครับ ถ้าปรับแต่งนิดหน่อยก็อาจเป็นโจทย์ถูกได้ครับ
(เพราะมันหาคำตอบได้ แต่แค่ไม่จำกัดเท่านั้น) ลองไปดัดแปลงดูครับ

น่าจะเปลี่ยนโจทย์เป็น มีค่าอะไรบ้าง ตอบเป็นรูปทั่วไป อะไรประมาณนี้ครับ
(รูปทั่วไปของ $(\frac{(ad+bc)(ab+cd)}{abcd})^2$ ก็พอครับ)
__________________
Speaking words of wisdom, let it be ...
$$\sqrt{\frac{m_n}{m_e}}\cong\frac{3}{\sqrt{\varphi}+\zeta(3)}$$, where $m_n$ be the neutron mass, $m_e$ be the electron mass and $\varphi$ be the golden ratio.

26 กุมภาพันธ์ 2009 21:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Let it be
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:30


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha