Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น > ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 23 พฤศจิกายน 2013, 22:57
Apirak PKW Apirak PKW ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 สิงหาคม 2013
ข้อความ: 26
Apirak PKW is on a distinguished road
Default ข้อสอบคณิตช้างเผือก

พึ่งสอบมาหมาดๆวันที่ 23 พ.ย. 56 วันนี้เองครับ
มาช่วยเฉลยหน่อยครับ
ขอคาระวะทุกท่านครับ เเละ ขออภัยสำหรับรูปครับ














__________________
เดี๋ยวก่อน...ไม่รู้ไม่ได้..
...อีกนิดเดียว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 24 พฤศจิกายน 2013, 00:12
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

ไม่ยากนะครับดูตัวอย่าง4ข้อ

ข้อ122. 100,98,102,94,110,...

รูปทั่วไป คือ $a_{n+1}=a_n+(-2)^n$

ข้อ124. $\frac{x}{13}-\frac{y}{5}=\frac{4}{65}$ หา $xy-(x+y)=?$

$\frac{6}{13}-\frac{2}{5}=\frac{4}{65}$

$x=6;y=2\rightarrow (6\times 2)-(6+2)=4$

ข้อ125. $BC^2=64\rightarrow BC=8$

$\frac{1}{2} (EC)(CF)=50$

จากสามเหลี่ยมคล้าย $EC=CF$ ดังนั้น$CF=10$

เพราะฉะนั้นสามเหลี่ยม BCF มีเส้นรอบรูป =6+8+10=24 หน่วย

ข้อ159. ให้แยกตัวประกอบในรูปยกกำลังของจำนวนเฉพาะ จะเห็นว่ามี 4 ตัว



เห็นเขียนว่าจำนวนเฉพาะบวก แล้วมีจำนวนเฉพาะลบด้วยหรือ?

24 พฤศจิกายน 2013 00:14 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ artty60
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 24 พฤศจิกายน 2013, 10:31
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

ข้อ132. แก้สมการได้$(×,y)=(5,-2);(-1,-20)$

ดังนั้น $a+b+c+d=5-2-1-20=-17$

ข้อ134. ได้$x:y:z=6:4:3$

$\therefore x=\frac{9}{2};y=3;z=\frac{9}{4}$

ดังนั้นคำตอบคือ 3
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 25 พฤศจิกายน 2013, 23:57
Eddie's Avatar
Eddie Eddie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 ธันวาคม 2004
ข้อความ: 146
Eddie is on a distinguished road
Default

อยากทราบวิธีทำข้อ 139 ครับ ท่่านใดทำเป็น ช่วยแนะนำด้วยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 26 พฤศจิกายน 2013, 00:16
Puriwatt's Avatar
Puriwatt Puriwatt ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2006
ข้อความ: 1,435
Puriwatt is on a distinguished road
Default

พท. ABC = 16 ตารางหน่วย
พท. AMC = 4 ตารางหน่วย --> พท. BMC = 16-4 =12 ตารางหน่วย
ดังนั้น AM : BM = 4 : 12 = 1 : 3
พท. BNC = 4 ตารางหน่วย --> พท. BNA = 16-4 = 12 ตารางหน่วย
ดังนั้น AN : CN = 12 : 4 = 3 : 1
พท. AMN = พท. AMC×3/4 = 4×3/4 = 3 ตารางหน่วย ตอบ 3.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 26 พฤศจิกายน 2013, 18:53
cfcadet cfcadet ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 852
cfcadet is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Puriwatt View Post
พท. ABC = 16 ตารางหน่วย
พท. AMC = 4 ตารางหน่วย --> พท. BMC = 16-4 =12 ตารางหน่วย
ดังนั้น AM : BM = 4 : 12 = 1 : 3
พท. BNC = 4 ตารางหน่วย --> พท. BNA = 16-4 = 12 ตารางหน่วย
ดังนั้น AN : CN = 12 : 4 = 3 : 1
พท. AMN = พท. AMC×3/4 = 4×3/4 = 3 ตารางหน่วย ตอบ 3.
รูปนี้ไม่ใช่สามเหลี่ยมคล้ายใช่ไหมครับ
ก็เลยงงๆ ว่าใช้อัตราส่วนอย่างไร
และพิจารณาส่วนสูง และฐานอย่างไรครับ
รบกวนอธิบาย หรือวาดรูปประกอบให้หน่อยได้ไหมครับ
ขอบคุณมากครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 26 พฤศจิกายน 2013, 19:21
cfcadet cfcadet ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 852
cfcadet is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ cfcadet View Post
รูปนี้ไม่ใช่สามเหลี่ยมคล้ายใช่ไหมครับ
ก็เลยงงๆ ว่าใช้อัตราส่วนอย่างไร
และพิจารณาส่วนสูง และฐานอย่างไรครับ
รบกวนอธิบาย หรือวาดรูปประกอบให้หน่อยได้ไหมครับ
ขอบคุณมากครับ
ข้อนี้ผมลองทำ วาดรูป และใช้ความเข้าใจเรื่องสามเหลี่ยมก็เลยทำให้สามารถทำได้แล้วครับ
เข้าใจเรียบร้อยแล้วครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 26 พฤศจิกายน 2013, 19:45
Puriwatt's Avatar
Puriwatt Puriwatt ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2006
ข้อความ: 1,435
Puriwatt is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ cfcadet View Post
ข้อนี้ผมลองทำ วาดรูป และใช้ความเข้าใจเรื่องสามเหลี่ยมก็เลยทำให้สามารถทำได้แล้วครับ
เข้าใจเรียบร้อยแล้วครับ
เก่งมากครับ ที่ข้อนี้สามารถทำความเข้าใจด้วยตนเองได้

หลักการคิดคือ สามเหลี่ยมที่ฐานอยู่บนเส้นตรงเดียวกัน และมีจุดยอดเดียวกัน
จะมีอัตรส่วนพื้นที่เท่ากับอัตราส่วนของความยาวฐาน (เพราะมีความสูงเท่ากัน)
** และกรณีที่จุดยอดอยู่บนเส้นตรงที่ขนานกับฐาน ยังใช้หลักนี้ได้ครับ **

วิธีคิดแบบนี้จะช่วยให้แก้ปัญหาโจทย์แนวพื้นที่สามเหลี่ยมได้ง่ายขึ้นครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 26 พฤศจิกายน 2013, 20:50
cfcadet cfcadet ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 852
cfcadet is on a distinguished road
Default

รบกวนข้อ 135 ได้ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 26 พฤศจิกายน 2013, 22:55
Puriwatt's Avatar
Puriwatt Puriwatt ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2006
ข้อความ: 1,435
Puriwatt is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ cfcadet View Post
รบกวนข้อ 135 ได้ไหมครับ
มุม DCE + มุม ECB = มุม ECB + มุม BCF = 90°
ดังนั้น มุม DCE = มุม BCF
ความยาวด้าน DC = BC = 8 หน่วย, และมุม CDE = มุม CBF =90°
จะได้ว่าสามเหลี่ยม CDE กับ CBF เท่ากันทุกประการแบบ มุม-ด้าน-มุม
ดังนั้นความยาวด้าน EC = CF = b หน่วย
พื้นที่สามเหลี่ยม ECF = 50 =$\frac{1}{2}×b×b$ --> จะได้ค่า b = 10 หน่วย
ดังนั้น BF = $\sqrt{10^2-8^2}$ = 6 หน่วย
ความยาวเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม BCF = 10+8+6 = 24 หน่วย (ตอบ 4.)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 26 พฤศจิกายน 2013, 23:43
cfcadet cfcadet ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 852
cfcadet is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Puriwatt View Post
มุม DCE + มุม ECB = มุม ECB + มุม BCF = 90°
ดังนั้น มุม DCE = มุม BCF
ความยาวด้าน DC = BC = 8 หน่วย, และมุม CDE = มุม CBF =90°
จะได้ว่าสามเหลี่ยม CDE กับ CBF เท่ากันทุกประการแบบ มุม-ด้าน-มุม
ดังนั้นความยาวด้าน EC = CF = b หน่วย
พื้นที่สามเหลี่ยม ECF = 50 =$\frac{1}{2}×b×b$ --> จะได้ค่า b = 10 หน่วย
ดังนั้น BF = $\sqrt{10^2-8^2}$ = 6 หน่วย
ความยาวเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม BCF = 10+8+6 = 24 หน่วย (ตอบ 4.)
ข้อ 135 ????
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 27 พฤศจิกายน 2013, 07:19
cfcadet cfcadet ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 852
cfcadet is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Puriwatt View Post
มุม DCE + มุม ECB = มุม ECB + มุม BCF = 90°
ดังนั้น มุม DCE = มุม BCF
ความยาวด้าน DC = BC = 8 หน่วย, และมุม CDE = มุม CBF =90°
จะได้ว่าสามเหลี่ยม CDE กับ CBF เท่ากันทุกประการแบบ มุม-ด้าน-มุม
ดังนั้นความยาวด้าน EC = CF = b หน่วย
พื้นที่สามเหลี่ยม ECF = 50 =$\frac{1}{2}×b×b$ --> จะได้ค่า b = 10 หน่วย
ดังนั้น BF = $\sqrt{10^2-8^2}$ = 6 หน่วย
ความยาวเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม BCF = 10+8+6 = 24 หน่วย (ตอบ 4.)
ข้อนี้คือข้อ 125 ครับ ผมไล่เรียงดูแล้วก็เข้าใจแล้วครับ

แต่ที่ถามไปก็คือข้อ 135 ครับ รบกวนด้วยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 27 พฤศจิกายน 2013, 09:52
Puriwatt's Avatar
Puriwatt Puriwatt ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2006
ข้อความ: 1,435
Puriwatt is on a distinguished road
Default

ข้อ 135 ตอบ 1. (21)
จากสมการ $r = \dfrac{1}{r}+1$
จัดรูปใหม่ได้ $r - \dfrac{1}{r} = 1$
ยกกำลังสองได้ $r^2 -2+ \dfrac{1}{r^2} = 1$
ดังนั้นได้$r^2 + \dfrac{1}{r^2} = 3$ และ $r + \dfrac{1}{r} = \sqrt{5}$
ทำแบบเดิมได้ $r^4 + \dfrac{1}{r^4} = 9-2 = 7$
จะได้ $r^8 + \dfrac{1}{r^8} = 49-2 = 47$
และจะได้ $r^8 - \dfrac{1}{r^8} = \sqrt{47^2-4} = 21\sqrt{5}$ ---- (1)

จากสมการ $r = \dfrac{1}{r}+1$
จัดรูปได้ $r + \dfrac{1}{r} = 1+\dfrac{2}{r}$
--> $ r^8(r + \dfrac{1}{r}) = r^8(1+\dfrac{2}{r}) = r^8+2r^7$ ----(2)

ดังนั้น $\dfrac {(r^{16}-1)}{(r^8+2r^7)} $
จัดรูปได้เป็น $\dfrac {r^8(r^8-r^{-8})}{r^8(r+ r^{-1})}$ = $\dfrac {(r^8-r^{-8})}{(r+ r^{-1})}$ = 21

28 พฤศจิกายน 2013 11:48 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Puriwatt
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 27 พฤศจิกายน 2013, 11:21
cfcadet cfcadet ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 852
cfcadet is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Puriwatt View Post
ข้อ 135 ตอบ 1. (21) ถ้ามีเวลาจะลงวิธีทำให้ครับ
$r = \frac{1}{r}+1$ --> $r + \frac{1}{r} = 1+\frac{2}{r}$
--> $ r^8(r + \frac{1}{r}) = r^8(1+\frac{2}{r}) = r^8+2r^7$ -----(1)
ดังนั้น $\frac {(r^16-1)}{(r^8+2r^7)} = \frac {r^8-r^{-8}}{r+ r^{-1}}$ ---(2)
$r - \frac{1}{r} = 1$ --> ได้ $r^2 + \frac{1}{r^2} = 3$ และ $r + \frac{1}{r} = \sqrt{5}$
$r^4 + \frac{1}{r^4} = 7$ --> ได้ $r^8 + \frac{1}{r^8} = 47$ --> ได้
$r^8 - \frac{1}{r^8} = \sqrt{47^2-4} = 21\sqrt{5}$
แทนค่าลงใน (2) ได้ $\frac {(r^16-1)}{(r^8+2r^7)} = \frac {r^8-r^{-8}}{r+ r^{-1}} = 21$
ขอบคุณมากครับ

รบกวนเพิ่มเติมด้วยนะครับ

http://mathcenter.net/forum/showthread.php?t=20195
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 28 พฤศจิกายน 2013, 07:56
cfcadet cfcadet ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 852
cfcadet is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ artty60 View Post
ไม่ยากนะครับดูตัวอย่าง4ข้อ

ข้อ122. 100,98,102,94,110,...

รูปทั่วไป คือ $a_{n+1}=a_n+(-2)^n$

ข้อ124. $\frac{x}{13}-\frac{y}{5}=\frac{4}{65}$ หา $xy-(x+y)=?$

$\frac{6}{13}-\frac{2}{5}=\frac{4}{65}$

$x=6;y=2\rightarrow (6\times 2)-(6+2)=4$

ข้อ125. $BC^2=64\rightarrow BC=8$

$\frac{1}{2} (EC)(CF)=50$

จากสามเหลี่ยมคล้าย $EC=CF$ ดังนั้น$CF=10$

เพราะฉะนั้นสามเหลี่ยม BCF มีเส้นรอบรูป =6+8+10=24 หน่วย

ข้อ159. ให้แยกตัวประกอบในรูปยกกำลังของจำนวนเฉพาะ จะเห็นว่ามี 4 ตัว



เห็นเขียนว่าจำนวนเฉพาะบวก แล้วมีจำนวนเฉพาะลบด้วยหรือ?
ค่า x และ y ในข้อ 124 ได้มาอย่างไรครับ (ถ้าไม่ใช่มาจากการสุ่ม)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 20:55


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha