Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Calculus and Analysis
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 18 ตุลาคม 2006, 20:28
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post Complex A. Problems

กำหนดให้ $\gamma$ เป็นเส้นโค้งเรียบใน C และ $z$ เป็นจุดใน C ซึ่งไม่อยู่ $\gamma$ นิยาม
$$I(z)=\int_{\gamma} \frac{d\xi}{\xi-z}$$
จงพิสูจน์ว่า $I(z)$ เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ $z$


อีกข้อ..
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ

18 ตุลาคม 2006 21:07 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Mastermander
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 19 ตุลาคม 2006, 02:15
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

ผมว่าข้อล่าง โจทย์ผิดนะครับ เพราะสำหรับวงกลมที่ cover ทั้ง 2 singular points ของ integrand แล้วใช้ Cauchy residue's theorem ลิมิตต้องเข้าสู่ค่าๆหนึ่งที่ไม่เป็น 0 แน่นอน สำหรับข้อนี้
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 19 ตุลาคม 2006, 10:02
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

Solution to the second problem :

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Lemma : If $f(z)=\frac{P(z)}{Q(z)}$ is a nonzero rational function with $deg(P(z))+2\leq deg(Q(z))$ then $\displaystyle{ \lim_{R\rightarrow \infty}I(R) = \lim_{R\rightarrow \infty} \int_{|z|=R} f(z) dz = 0.}$

Proof : Let $deg(P(z))=m, deg(Q(z)) = n$ and $a_m,b_n$ be leading coefficients of $P(z)$ and $Q(z)$ respectively. Then $m+2\leq n$. Note that $\displaystyle{\lim_{z\rightarrow\infty}\frac{P(z)}{a_m z^m}=\lim_{z\rightarrow\infty}\frac{Q(z)}{b_n z^n}=1.}$
Thus there is an $R>0$,sufficiently large, such that $|P(z)| < \frac{3}{2}|a_m|| z|^m$ and $|Q(z)| > \frac{1}{2}|b_n|| z|^n$ for all $|z|\geq R.$
Hence $\displaystyle{|I(R)| \leq \int_{0}^{2\pi} |f(Re^{it})(iRe^{it})|dt\leq \frac{2\pi K}{R^{n-m-1}}, K = \frac{3|a_m|}{|b_n|}. }$
Letting $R\rightarrow\infty$, we get the result.

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
Applying this lemma to the function $\frac{1}{1+z+z^2}$, we are done.
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

19 ตุลาคม 2006 12:47 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 19 ตุลาคม 2006, 13:36
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Icon16

ขอบคุณ คุณ nooonuii สำหรับ general form ครับ

เมื่อกี้ มา check ถึงรู้ว่า ผมบวกเลขผิดนี่เอง ทีหลังจะไม่บวกเลขตอนตี 2 อีกแล้ว

จริงๆข้อนี้ ถ้าให้วงกลม รัศมี r สามารถ cover ทั้ง 2 singular points ได้ ก็จะทำให้ I(r)=0 โดยผลของ residue theorem ดังนั้นไม่ต้องสงสัยเลยว่า วงที่ใหญ่กว่านี้ทุกวง ก็ยังคงทำให้ I(R)=0

ส่วนข้อ 1 ผมว่าใช้ result ข้างล่างนี้ก็ไม่ยากที่จะพิสูจน์ว่า $ I(z) $ ต่อเนื่องที่ z= a ที่ไม่อยู่บน $ \gamma$ แล้วนะครับ

$$ \mid I(z)- I(a) \mid =\mid z-a \mid \bigg | \int_{\gamma} \frac{d\xi}{(\xi-z)(\xi-a)} \bigg | $$
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 19 ตุลาคม 2006, 16:29
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

ขอบคุณครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 26 ตุลาคม 2006, 13:13
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

Calculate $\int_0^\infty \frac{\sin t}{t}\ dt$ with Laplace transform ?
$$L\{\sin t\}=\frac{1}{s^2+1}\quad ,s>0$$
$$L\bigg\{ \frac{\sin t}{t}\bigg\}=\int_s^\infty \frac{dr}{1+r^2}=\frac{\pi}{2}-\arctan s$$
Can we use $s=0$ in this case ?
Coz answer is correct
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 26 ตุลาคม 2006, 13:23
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

วิธีของคุณ mastermander ใช้ได้ครับไม่ผิดแต่อย่างใด
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Function problems Far ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 4 23 กรกฎาคม 2009 05:09
อยากทราบเรื่องthree famous problems of antiquity nongteam ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 1 03 กันยายน 2006 04:41
complex integral ครับ Counter Striker ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 2 19 เมษายน 2005 15:27
โจทย์ complex number brother ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 3 19 เมษายน 2005 10:50
Challenging Problems from a Book aaaa ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 19 23 กุมภาพันธ์ 2005 22:25


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 18:43


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha