Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย > ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 04 มกราคม 2013, 12:00
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default ข้อสอบคณิตศาสตร์ทุนกพ.ประจำปี2555(สอบเมื่อ 3 ธค.2554)

ของปี2556ยังไม่ออกมาให้โหลด โหลดได้จากเวปของก.พ.ครับ
มีทั้งระดับม.ต้นและม.ปลาย ถ้าเกิดซ้ำกับของคนอื่นแล้วก็รบกวนMODลบได้เลยครับ
คณิตศาสตร์ม.ปลาย2554
คณิตศาสตร์ม.ปลาย2555
ขอให้สนุกกับการทำโจทย์ครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

05 มกราคม 2013 10:16 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 12 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 04 มกราคม 2013, 12:14
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default


2.1
$y=\sin^3x+\cos^3x$
$=(\sin x+\cos x)(1+\sin 2x)$.....$\sin2x=1 $
$=2\sqrt{2} $

ให้ $A=\tan^{-1} y \rightarrow \tan A=y$
$z=\cos(2\tan^{-1} y)=\cos 2A$

$\cos 2A=\frac{1-\tan^2A}{1+\tan^2A}=\frac{7}{9} $

2.2ใช้สูตรการหาพื้นที่ของHeron
$s=\frac{29+\sqrt{41} }{2} $
$s-a=\frac{29+\sqrt{41} }{2}-13=\frac{3+\sqrt{41}}{2} $
$s-b=\frac{29+\sqrt{41} }{2}-16=\frac{\sqrt{41}-3}{2} $
$s-c=\frac{29+\sqrt{41} }{2}-\sqrt{41}=\frac{29-\sqrt{41}}{2} $

พื้นที่ของสามเหลี่ยมรูปนี้เท่ากับ $\sqrt{(\frac{29+\sqrt{41}}{2})(\frac{29-\sqrt{41}}{2})(\frac{3+\sqrt{41}}{2})(\frac{\sqrt{41}-3}{2})} $

$=\sqrt{(\frac{29^2-41}{4} )(8)} $

$=40$
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

04 มกราคม 2013 12:25 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 04 มกราคม 2013, 13:17
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

link ที่ให้ เป็นของปี 2554 สอบเมื่อ 13 พ.ย. 2553

ทำผิดชุด จะไม่ได้รับการตรวจ
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)

04 มกราคม 2013 13:39 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ banker
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 04 มกราคม 2013, 13:25
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

ทำไม่ได้หรอกครับ แต่มาตัดให้เป็นข้อๆ กันข้อสอบหาย


Name:  00.jpg
Views: 1238
Size:  45.0 KB

Name:  0011.jpg
Views: 1222
Size:  25.7 KB

Name:  0012.jpg
Views: 1225
Size:  25.1 KB

Name:  012.jpg
Views: 1234
Size:  15.1 KB

Name:  013.jpg
Views: 1202
Size:  18.3 KB

Name:  014.jpg
Views: 1207
Size:  33.0 KB

Name:  02.jpg
Views: 1228
Size:  31.0 KB

Name:  031.jpg
Views: 1218
Size:  30.2 KB

Name:  032.jpg
Views: 1236
Size:  24.4 KB

Name:  033.jpg
Views: 1227
Size:  38.4 KB

Name:  04.jpg
Views: 1217
Size:  51.8 KB

Name:  051.jpg
Views: 1599
Size:  32.3 KB

Name:  052.jpg
Views: 1474
Size:  9.9 KB

Name:  053.jpg
Views: 1200
Size:  17.3 KB

Name:  054.jpg
Views: 1202
Size:  33.7 KB
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 04 มกราคม 2013, 13:53
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

Name:  00.jpg
Views: 1220
Size:  47.9 KB

Name:  011.jpg
Views: 1204
Size:  16.4 KB

Name:  012.jpg
Views: 1225
Size:  30.6 KB

Name:  013.jpg
Views: 1192
Size:  13.7 KB

Name:  021.jpg
Views: 1202
Size:  29.0 KB

Name:  022.jpg
Views: 1203
Size:  23.2 KB

Name:  022_1.jpg
Views: 1194
Size:  21.3 KB

Name:  023_1.jpg
Views: 1408
Size:  13.5 KB

Name:  023_2.jpg
Views: 1418
Size:  7.6 KB

Name:  031.jpg
Views: 1192
Size:  13.2 KB

Name:  032.jpg
Views: 1402
Size:  30.9 KB

Name:  033.jpg
Views: 1184
Size:  16.9 KB

Name:  034.jpg
Views: 1184
Size:  18.5 KB

Name:  041.jpg
Views: 1451
Size:  11.4 KB

Name:  042.jpg
Views: 1599
Size:  15.4 KB

Name:  051.jpg
Views: 1371
Size:  10.7 KB

Name:  052.jpg
Views: 1646
Size:  16.2 KB

Name:  053.jpg
Views: 1202
Size:  59.1 KB
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 04 มกราคม 2013, 14:18
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,036
lek2554 is on a distinguished road
Default

เฉลยข้อสอบทุน วิชาคณิตศาสตร์ ปี 2555 โดยชมรมคณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
http://www.mathcenter.net/forum/showthread.php?t=17700
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 05 มกราคม 2013, 10:33
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default



ลองทำแบบเบสิคก่อนแล้วกันครับ แบบแอดวานซ์ยังนึกไม่ออก
ให้ $z=a+bi$ ดังนั้น $\overline{z}=a-bi,\left|\,\overline{z}\right| =\sqrt{a^2+b^2} $
$z+\left|\,\overline{z}\right| =(a+\sqrt{a^2+b^2})+bi=3+9i$
เทียบส่วนจริงและส่วนจินตภาพจะได้ว่า
$a+\sqrt{a^2+b^2}=3$ และ
$b=9$ แทนในสมการแรก
$a+\sqrt{a^2+9^2}=3$
$\sqrt{a^2+9^2}=3-a$ เนื่องจาก $\sqrt{a^2+9^2} >0$ ดังนั้น $a<3$
ยกกำลัง $a^2+81=9-6a+a^2$
$a=-12$
ดังนั้น $z=-12+9i$
$Re z=-12,Im z=9,\left|\,z\right|^2 =225$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 05 มกราคม 2013, 11:07
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default



แปลงจำนวนเชิงซ้อนเป็นพิกัดเชิงขั้ว
ให้ $1-\sqrt{3}i=z,1+\sqrt{3}i=w$
$1-\sqrt{3} \rightarrow \tan \theta =-\sqrt{3} \rightarrow \theta =\frac{5\pi}{3} $
$\left|\,z\right| =2$
$1+\sqrt{3} \rightarrow \tan \theta =\sqrt{3} \rightarrow \theta =\frac{\pi}{3} $
$\left|\,w\right| =2$

$z=2(\cos \frac{5\pi}{3}+i\sin \frac{5\pi}{3} )=2(\cos \frac{\pi}{3}-i\sin \frac{\pi}{3} )$
$w=2(\cos \frac{\pi}{3}+i\sin \frac{\pi}{3})$

จาก $z^m=\left|\,z\right|^m(\cos (m\theta)+i\sin (m\theta))$
$(1-\sqrt{3}i)^n=2^n(\cos \frac{n\pi}{3}-i\sin \frac{n\pi}{3} )$
$(1+\sqrt{3}i)^n=2^n(\cos \frac{n\pi}{3}+i\sin \frac{n\pi}{3} )$

$(1-\sqrt{3}i)^n+(1+\sqrt{3}i)^n$
$=2^n(\cos \frac{n\pi}{3}-i\sin \frac{n\pi}{3}+\cos \frac{n\pi}{3}+i\sin \frac{n\pi}{3} )$

$\cos \frac{n\pi}{3}+\cos \frac{n\pi}{3}$
$=2\cos(\frac{n\pi}{3})$

$(1-\sqrt{3}i)^n+(1+\sqrt{3}i)^n=2^{n+1}\cos(\frac{n\pi}{3})$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

05 มกราคม 2013 13:49 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 05 มกราคม 2013, 12:03
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default



น่าจะคิดเหมือนกับการแบ่งกลุ่มคนออกเป็นกลุ่มละ2,4และ5คน
จะแบ่งได้ทั้งหมดเท่ากับ $\frac{10!}{2!4!5!} $
$=\frac{10\times 9\times 8 \times 7 \times 6}{4\times 3 \times 2 \times 2} $
$=630$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 05 มกราคม 2013, 12:39
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default



AA BB CC DD EE FF GG

หยิบครั้งแรก โอกาสได้ A = $ \frac{1}{14}$

หยิบครั้งที่สอง โอกาสได้ A = $ \frac{1}{13}$

หยิบครั้งที่สาม โอกาสได้สีอะไรก็ได้ = $ \frac{12}{12}$

ดังนั้นโอกาสที่จะได้ AAX = $ \frac{1}{14} \times \frac{1}{13} \times \frac{12}{12} = \frac{12}{12 \times 13 \times 14} \ \ \ \ \ $(เมื่อ X เป็นสีอะไรก็ได้ที่เหลือ)


มีทั้งหมด 7 สี โอกาสจึงเป็น $ 7 \times (\frac{12}{12 \times 13 \times 14}) = \frac{1}{26}$

ไม่รู้ถูกหรือเปล่า



ท่านlek2554 บอกว่าผิด

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ lek2554 View Post
โอกาสได้ $AAX$ อาจจะเป็น $A_1A_2X ,A_2A_1X , A_1XA_2 , A_2XA_1 , XA_1A_2 , XA_2A_1$

$A_1$ คือถุงเท้าข้างขวา $A_2$ คือถุงเท้าข้างซ้าย

ถ้าอย่างนั้นก็ต้องคูณ 6 ไปอีก จึงได้


มีทั้งหมด 7 สี โอกาสจึงเป็น $ 7 \times (\frac{12}{12 \times 13 \times 14}) \times 6 = \frac{3}{13} $
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)

06 มกราคม 2013 14:45 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ banker
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 05 มกราคม 2013, 13:14
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default




เดือนที่ 1คืน 8000

เดือนที่ 2 คืน 8000 +500 = 8000 + (2-1)(500)

เดือนที่ 3 คืน 8000 +500 +500 = 8000 + (3-1)(500)

เดือนที่ 4 คืน 8000 +500 +500 +500 = 8000 + (4-1)(500)
.
.
.
เดือนที่ n คืน 8000 + (n-1)(500)

จะได้ว่า

$710,000 = n(8000) + (1+2+3+...+ (n-1))(500)$

$710,000 = n(8000) + (\frac{(n-1)(n-1+1)}{2}))(500)$

$n = 40$

เดือนที่ 40 คืน 8000 + (40-1)(500) = 27,500

ตอบ 40 เดือน เดือนสุดท้ายคืน 27,500 บาท
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 05 มกราคม 2013, 13:48
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

หลอกลุงBankerมาทำโจทย์ด้วยกันดีกว่า....ผมแก้ลิงค์ให้หมดแล้วครับ
ข้อนี้ผมคิดแบบเดียวกับลุง

คิดว่าถุงเท้าแต่ละข้างต่างกัน มีของ 14 ชิ้น
จำนวนวิธีที่หยิบถุงเท้ามาสามข้างเท่ากับ $14^3$ วิธี
จำนวนวิธีที่หยิบถุงเท้ามาได้สีเดียวกันสองข้างเท่ากับ $3!\times 14 \times 12$
ความน่าจะเป็นที่หยิบถุงเท้ามาได้สีเดียวกันสองข้างเท่ากับ $\frac{3!\times 14 \times 12}{14^3} $
เท่ากับ $\frac{18}{49} $
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 05 มกราคม 2013, 14:02
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Default



พึ่งอ่านมาแต่งงมาก เลยลองมาทำโจทย์เผื่อช่วยได้ (ถ้าผิดก็ทักท้วงได้เลยนะครับ)

$\det( 3\sqrt{3}I)= 27 = \det (A)^3$

$\therefore \det (A)=3 , \det (C) =\dfrac{1}{3}$

take det ไปทั้งสองข้าง

$\det (AB^tC) = \det \bmatrix{-4 & 1 \\ 4 & 5} $

$\det (B^t) \det (A) \det (C) = 16$

$\det (B) = 16$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 05 มกราคม 2013, 17:42
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,036
lek2554 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post


น่าจะคิดเหมือนกับการแบ่งกลุ่มคนออกเป็นกลุ่มละ2,4และ5คน
จะแบ่งได้ทั้งหมดเท่ากับ $\frac{10!}{2!4!5!} $
$=\frac{10\times 9\times 8 \times 7 \times 6}{4\times 3 \times 2 \times 2} $
$=630$
เรือ 3 ลำ จุคนได้ 2+4+5=11 คน แต่แบ่งคน 10 คน

แสดงว่าต้องมีเรืออยู่ลำหนึ่ง ที่ยังให้คนลงได้อีก 1 คน

ถ้าเป็นลำเล็ก จะแบ่งอย่างไร

ถ้าเป็นลำกลาง จะแบ่งอย่างไร

ถ้าเป็นลำใหญ่ จะแบ่งอย่างไร


หรือคิดอีกวิธีหนึ่ง เพิ่ม่คนเข้าไปอีกคนหนึ่งแล้วแบ่งลงเรือ แบ่งเสร็จก็ให้คนนั้นขึ้นมาจากเรือก็จบ

05 มกราคม 2013 17:52 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ lek2554
เหตุผล: เพิ่มข้อความครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 05 มกราคม 2013, 18:04
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,036
lek2554 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ banker View Post


AA BB CC DD EE FF GG

หยิบครั้งแรก โอกาสได้ A = $ \frac{1}{14}$

หยิบครั้งที่สอง โอกาสได้ A = $ \frac{1}{13}$

หยิบครั้งที่สาม โอกาสได้สีอะไรก็ได้ = $ \frac{12}{12}$

ดังนั้นโอกาสที่จะได้ AAX = $ \frac{1}{14} \times \frac{1}{13} \times \frac{12}{12} = \frac{12}{12 \times 13 \times 14} \ \ \ \ \ $(เมื่อ X เป็นสีอะไรก็ได้ที่เหลือ)

มีทั้งหมด 7 สี โอกาสจึงเป็น $ 7 \times (\frac{12}{12 \times 13 \times 14}) = \frac{1}{26}$

ไม่รู้ถูกหรือเปล่า
โอกาสได้ $AAX$ อาจจะเป็น $A_1A_2X ,A_2A_1X , A_1XA_2 , A_2XA_1 , XA_1A_2 , XA_2A_1$

$A_1$ คือถุงเท้าข้างขวา $A_2$ คือถุงเท้าข้างซ้าย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
ตัวแทนระดับชาติ 2555 polsk133 ข่าวคราวแวดวง ม.ปลาย 6 26 เมษายน 2012 21:49
ประกาศผลการสอบ สสวท. ประจำปี 2554 วันจันทร์ที่ 12 มีนาคม 2555 PoomVios45 ข่าวคราวแวดวงประถม ปลาย 11 12 มีนาคม 2012 15:56
เลื่อนสอบ สสวท. เป็น 28 มกราคม พ.ศ. 2555 Puriwatt ข่าวคราวแวดวงประถม ปลาย 1 08 พฤศจิกายน 2011 19:41
ประกาศ เรื่อง การเลื่อนวันสอบ GAT/PAT ครั้งที่ 1/2555(สอบ 8 - 11 ต.ค. 2554) หยินหยาง ข่าวคราวแวดวง ม.ปลาย 5 28 ตุลาคม 2011 19:32
ข้อสอบ PAT1 คณิตศาสตร์ ครั้งที่ 1/2554 (เดือนมีนาคม 2554) ฉบับเต็ม sck ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย 37 10 กันยายน 2011 00:54


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 09:18


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha