Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 30 กรกฎาคม 2007, 21:35
ZiLnIcE's Avatar
ZiLnIcE ZiLnIcE ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 กันยายน 2005
ข้อความ: 93
ZiLnIcE is on a distinguished road
Default Convergent&Divergent

กำหนดให้ ก).$\sum_{n = 1}^{\infty}a_n และ \sum_{n = 1}^{\infty} b_n เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์แล้ว \sum_{n = 1}^{\infty} {a_n}{b_n} เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์$
ข).$\sum_{n = 1}^{\infty}{a_n}^2 และ \sum_{n = 1}^{\infty} {b_n}^2เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์ แล้ว\sum_{n = 1}^{\infty} {a_n}{b_n} เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์$

ข้อใดบ้างที่เป็นจริง ขออธิบายแบบนิยาม แล้วก็ยกตัวอย่างให้ด้วยครับ
__________________
Impossible is nothing

30 กรกฎาคม 2007 21:47 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ ZiLnIcE
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 30 กรกฎาคม 2007, 21:48
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Default

ข้อ a. ไม่จริงครับ ให้ $a_n=b_n=\frac{(-1)^n}{\sqrt{n}}$ ซึ่ง
\[ \sum_{n=0}^{\infty}a_n, \;\; \sum_{n=0}^{\infty}b_n\] ลู่เข้าแต่
\[ \sum_{n=0}^{\infty}a_nb_n = \sum_{n=0}^{\infty}\frac{1}{n} \]ซึ่งลู่ออก
ข้อ b. จริงโดย Cauchy-Swartz inequality ครับ
\[ \mid\sum_{n=0}^{\infty}a_nb_n \mid \leq (\sum_{n=0}^{\infty}a_n^2)(\sum_{n=0}^{\infty}b_n^2)\]
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!

30 กรกฎาคม 2007 22:03 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 30 กรกฎาคม 2007, 22:22
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ข้อ ข. ได้แรงกว่านี้อีกครับ

โดยอสมการ AM-GM จะได้ $|a_nb_n|\leq \dfrac{a_n^2+b_n^2}{2}$ ทุกค่า $n$

ดังนั้น $$\sum_{n=1}^{\infty}|a_nb_n|$$ ลู่เข้าโดย comparison test

เราจึงได้ว่า $$\sum_{n=1}^{\infty}a_nb_n$$ ลู่เข้่าอย่างสัมบูรณ์
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

30 กรกฎาคม 2007 22:23 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 01 สิงหาคม 2007, 21:14
konkoonJAi's Avatar
konkoonJAi konkoonJAi ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 มกราคม 2006
ข้อความ: 119
konkoonJAi is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ ZiLnIcE View Post
กำหนดให้ ก).$\sum_{n = 1}^{\infty}a_n และ \sum_{n = 1}^{\infty} b_n เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์แล้ว \sum_{n = 1}^{\infty} {a_n}{b_n} เป็นอนุกรมคอนเวอร์เจนต์$
ถ้าเราเพิ่มเงื่อนไขว่า $\sum_{n = 1}^{\infty}a_n$ และ $\sum_{n = 1}^{\infty} b_n$ ลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ แล้วข้อความจะเป็นจริงมั้ยคะ
__________________
การเรียนรู้ไม่มีวันสิ้นสุด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 02 สิงหาคม 2007, 10:36
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

จริงครับ แค่ตัวใดตัวหนึ่งลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ก็จริงแล้วครับ

สมมติว่า $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}a_n}$ ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ และ $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty} b_n}$ ลู่เข้า

เราจะได้ว่า $b_n\to 0$ ดังนั้น $b_n$ เป็นลำดับมีขอบเขต นั่นคือ มี $M>0$ ซึ่งทำให้ $$|b_n|\leq M$$ ทุกค่า $n$

ดังนั้น $|a_nb_n|\leq M|a_n|$ ทุกค่า $n$ เราจึงได้ว่า $$\sum_{n=1}^{\infty}|a_nb_n|$$ ลู่เข้าโดย comparison test
ดังนั้น $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}a_nb_n}$ ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 02 สิงหาคม 2007, 15:13
konkoonJAi's Avatar
konkoonJAi konkoonJAi ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 มกราคม 2006
ข้อความ: 119
konkoonJAi is on a distinguished road
Default

เยี่ยมยอดจริง ๆ ค่ะ โจทย์ประมาณนี้แหละ อาจารย์ขอบเอามาออกข้อสอบ
คือถามว่า ข้อต่อไปนี้ถูกหรือผิด และพิสูจนให้ดูด้วย แต่ดีที่ยังไม่มีข้อสอบแบบว่า ต้องเพิ่มเงื่อนไขอะไรเข้าไปถึงทำให้โจทย์เป็นจริง
__________________
การเรียนรู้ไม่มีวันสิ้นสุด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 12 สิงหาคม 2007, 12:14
putmusic putmusic ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 สิงหาคม 2007
ข้อความ: 183
putmusic is on a distinguished road
Default

AM-GM เนี่ยมันอะไรเหรอครับ?
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 12 สิงหาคม 2007, 20:43
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Default

AM = Arithmetic Mean

GM = Geometric Mean
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 12 สิงหาคม 2007, 21:25
RedfoX's Avatar
RedfoX RedfoX ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 182
RedfoX is on a distinguished road
Default

สงสัยครับ
1.ลู่เข้าอย่างสมบูรณ์นี่เป็นยังไงหรือครับ
2.comparison test คืออะไรครับ
__________________
ชอบคณิตศาสตร์ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 12 สิงหาคม 2007, 22:30
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

เราจำแนกอนุกรมที่ลู่เข้าไว้สองชนิดครับ คือ

1. อนุกรมที่ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์(Absolutely convergent series) คือ อนุกรม ซึ่ง

$\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}a_n}$ และ $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}}|a_n|$ ลู่เข้า

ตัวอย่างของอนุกรมชนิดนี้ก็อย่างเช่น อนุกรมซึ่งลู่เข้าและแต่ละเทอมมีค่าเป็นบวก

2. อนุกรมที่ลู่เข้าแบบมีเงื่อนไข (Conditional Convergent series) คืออนุกรมซึ่งลู่เข้าแต่ $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}}|a_n|$ ลู่ออก

ตัวอย่างเช่น $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}}\dfrac{(-1)^n}{n}$

การทดสอบแบบเปรียบเทียบ (Comprison Test) เป็นการทดสอบการลู่เข้าของอนุกรมแบบหนึ่งครับ ใจความมีอยู่ว่า

ถ้า $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}}b_n$ เป็นอนุกรมซึ่ง $|b_n|\leq a_n$ ทุกค่า $n$ เมื่อ $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}}a_n$ ลู่เข้า เราจะได้ว่าอนุกรม $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}}b_n$ ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์

อนุกรมส่วนใหญ่ที่นักคณิตศาสตร์อยากเจอและนำไปใช้งานได้ดี คือ อนุกรมที่ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ครับ เป็นอนุกรมที่มีคุณสมบัติอันพึงประสงค์หลายอย่าง
ส่วนการทดสอบอนุกรมนั้นยังมีอีกหลายแบบครับ สำหรับเด็กมัธยมยังไม่มีการเรียนการสอนเรื่องนี้ คงต้องหาอ่านจากตำราวิชาแคลคูลัสเบื้องต้น หรือ ไม่ก็ตำราวิชา คณิตศาสตร์เชิงการวิเคราะห์ (Mathematical Analysis) ครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 14 สิงหาคม 2007, 22:17
ZiLnIcE's Avatar
ZiLnIcE ZiLnIcE ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 กันยายน 2005
ข้อความ: 93
ZiLnIcE is on a distinguished road
Default

จากที่พี่nooonuii ยกตัวอย่าง $a_n$ มานี่เป็น Alternating Seriesที่
$$\lim_{x \to \infty} a_n=0$$
แล้วสรุปได้เลยใช่มั้ยครับว่า
$$\sum_{n = 1}^{\infty} a_n$$
จะ converge โดยที่เป็น monotone decreasing

ปล. อ.ผมบอกว่า มัน diverge ครับ
__________________
Impossible is nothing
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 14 สิงหาคม 2007, 23:12
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ ZiLnIcE View Post
จากที่พี่nooonuii ยกตัวอย่าง $a_n$ มานี่เป็น Alternating Seriesที่
$$\lim_{x \to \infty} a_n=0$$
แล้วสรุปได้เลยใช่มั้ยครับว่า
$$\sum_{n = 1}^{\infty} a_n$$
จะ converge โดยที่เป็น monotone decreasing

ปล. อ.ผมบอกว่า มัน diverge ครับ
ตัวอย่างอันนี้ลู่เข้าครับ ใช้การทดสอบอนุกรมสลับมาช่วยได้ครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 15 สิงหาคม 2007, 20:54
ZiLnIcE's Avatar
ZiLnIcE ZiLnIcE ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 กันยายน 2005
ข้อความ: 93
ZiLnIcE is on a distinguished road
Default

ขอบคุณมากครับ
__________________
Impossible is nothing
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 22:31


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha