Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 15 มกราคม 2012, 12:17
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default โจทย์ฟังก์ชันพหุนาม

ให้ P(x)=(x-1)(x-2)...(x-8)(x-100)
จงหาสัมประสิทธิ์ของ x

ช่วยหน่อยครับ มีวิธีทำที่ง่ายๆมั๊ยครับ

15 มกราคม 2012 12:40 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ artty60
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 15 มกราคม 2012, 15:18
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Lightbulb

สัมประสิทธิ์ของ $x$ ใน $(x-1)(x-2)...(x-8)$ คือ $-(\frac{8!}{1} + \frac{8!}{2} + ... + \frac{8!}{8}) = -8!\times (1+1/2+1/3+...+1/8) = -8!\times \frac{761}{280}$


ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของ $x$ ใน $(x-1)(x-2)...(x-8)(x-100) = (x^8 +... - \frac{(761)8!}{280}x + 8!)(x-100) $ คือ $\frac{(761)(8!)}{270}\times 100 + 8! = \frac{(8!)(3819)}{14}$

อ้างอิง:
เพิ่ม : จงหาสัมประสิทธิ์ของ $x^{98}$ จากการกระจายพหุนาม $(x-1)(x-2)...(x-100)$


15 มกราคม 2012 22:40 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
เหตุผล: ลบ (-1)^n ออก
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 15 มกราคม 2012, 20:36
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post
สัมประสิทธิ์ของ $x$ ใน $(x-1)(x-2)...(x-8)$ คือ $-(\frac{8!}{1} + \frac{8!}{2} + ... + \frac{8!}{8}) = -8!\times (1+1/2+1/3+...+1/8) = -8!\times \frac{761}{280}$


ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของ $x$ ใน $(x-1)(x-2)...(x-8)(x-100) = (x^8 +... - \frac{(761)8!}{280}x + 8!)(x-100) $ คือ $\frac{(761)(8!)}{270}\times 100 + 8! = \frac{(8!)(3819)}{14}$
แต่ว่า สัมประสิทธิ์ของ$ x^{n-2}$ ใน $(x-1)(x-2)...(x-n)$ คือ $(-1)\frac{n(n-1)n(n+1)(3n+2)}{24}$ มาเป็นแบบนี้ยังไงครับช่วยบอกขั้นตอนก่อนหน้านี้สัก2หรือ3ขั้นตอนหน่อยได้มั๊ยครับ

จากการสังเกตดูเหมือนสปส.ของ$x^{n-2}$ หาจาก (-1)$\frac{n!}{2!(n-2)!}$คูณกับ(ผลรวมของตัวเลขคูณกันเป็นคู่ๆ ของเลข 1 ถึง n เช่น $(1*2)+(1*3+...+(1*n)+(2*3)+(2*4)+...+(2*n)+(3*4)+...+(3*n)+...+...+(n-1)n)$ ไปต่อไม่เป็นแล้วครับ มึนไปหมดแล้ว

15 มกราคม 2012 20:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ artty60
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 15 มกราคม 2012, 22:45
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Wink

โอ๊ะ ผมเขียนเครื่องหมายผิดนิดนึง ต้องตัด $(-1)^n$ ทิ้ง เผอิญติดพัน ไปหยิบเครื่องหมายของ $a_2$ มาใส่แทน วิธีคิดแบบหนึ่งก็คือการหาผลรวมของผลคูณที่จับคู่ แบบที่เขียนไว้นั้นล่ะครับ ซึ่งเขียนเป็นภาษาคณิตศาสตร์ได้เป็น $$a_{n-2}=\sum_{i=1}^{n-1} \sum_{j=i+1}^{n} ij$$ จากนั้นเมื่อคำนวณออกมา ก็จะได้ค่าข้างต้นน่ะครับ.

เล่นซิกมาเป็นหรือเปล่าครับ.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 16 มกราคม 2012, 12:54
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ
เรื่องซิกม่าเดี๋ยวขอไปศึกษาดูก่อน
สงสัยแล้วจะมาเรียนถามอีกทีนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 16 มกราคม 2012, 13:26
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Lightbulb

วิธีซิกมาอาจจะดูยากไปสักนิด แต่ถ้าทำได้แสดงว่าเข้าใจหลักการครบสมบูรณ์ทุกอย่าง

วิธีที่ 2 นี้ง่ายกว่าเยอะ ลองดูรูปนี้ดูดี ๆ ครับ แล้วจะเห็นความลับที่ซุกซ่อนอยู่.

Name:  x_n-2.png
Views: 2519
Size:  15.1 KB
Note. $$\sum_{i=1}^n(i) = \frac{n(n+1)}{2}$$$$\sum_{i=1}^n(i^2) = \frac{n(n+1)(2n+1)}{6}$$

16 มกราคม 2012 13:34 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
เหตุผล: เพิ่มสูตร
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 16 มกราคม 2012, 20:20
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post
วิธีซิกมาอาจจะดูยากไปสักนิด แต่ถ้าทำได้แสดงว่าเข้าใจหลักการครบสมบูรณ์ทุกอย่าง

วิธีที่ 2 นี้ง่ายกว่าเยอะ ลองดูรูปนี้ดูดี ๆ ครับ แล้วจะเห็นความลับที่ซุกซ่อนอยู่.

Note. $$\sum_{i=1}^n(i) = \frac{n(n+1)}{2}$$$$\sum_{i=1}^n(i^2) = \frac{n(n+1)(2n+1)}{6}$$
โอ้!ดูภาพแล้วเข้าใจเลยครับ สปส.ของ$x^{98}$
ก็จะได้เป็น $\frac{1}{2}(\sum_{i=1}^n(i^3)-\sum_{i=1}^n(i^2))$ ใช่มั๊ยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 16 มกราคม 2012, 22:08
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Thumbs up

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ artty60 View Post
โอ้!ดูภาพแล้วเข้าใจเลยครับ สปส.ของ$x^{98}$
ก็จะได้เป็น $\frac{1}{2}(\sum_{i=1}^n(i^3)-\sum_{i=1}^n(i^2))$ ใช่มั๊ยครับ
โอ้! นี่เรียกว่า ภาพภาพเดียวแทนคณิตศาสตร์ทั้งปวง ถูกต้องครับ.

แต่เป็นสัมประสิทธิ์ของ $x^{n-2}$ นะครับ.

ที่จริงแล้ว ยังมีแนวคิดวิธีที่ 3. ซึ่งเป็นแนวทางพีชคณิตอีกแบบหนึ่ง

ซึ่งถ้ามองเห็นแนวคิดนี้ออกเมื่อไร ก็จะหาค่าของ $a_{n-2}$ ได้อย่างง่ายดายยิ่งกว่าวิธีที่ 2 ครับ

(ที่จริงแล้ว วิธีที่ 2 ก็ซ่อนแนวนิดของวิธีที่ 3 ไว้ในตัวอยู่แล้ว ลองเพ่งดูดี ๆ ครับ แล้วจะเห็นความลับสววรค์อีกครั้ง )

อ้างอิง:
เพิ่ม จงหาสัมประสิทธิ์ของ $x^{97}$ จากการกระจาย $(x-1)(x-2)(x-3)...(x-100)$

ถ้าสนใจก็ลองคิดดูต่อนะครับ.

ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 16 มกราคม 2012, 22:28
polsk133's Avatar
polsk133 polsk133 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 1,873
polsk133 is on a distinguished road
Default

ไม่ get ภาพอะครับ - -" รบกวนอธิบายทีครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 16 มกราคม 2012, 22:35
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Lightbulb

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ polsk133 View Post
ไม่ get ภาพอะครับ - -" รบกวนอธิบายทีครับ
ผลรวมของจำนวนต่าง ๆ ในรูปสามเหลี่ยมด้านบนกับด้านล่าง จะมีเท่ากันคือ $a_{n-2}$ นั่นเองและเ้ป็นสิ่งที่เราต้องการหาครับ

ส่วนในแนวทแยงมุม จะมีผลบวกเป็น $1^2+2^2+3^2$ (สมมติว่าเป็น $(x-1)(x-2)(x-3)$)

คราวนี้ ถ้าเรานำจำนวนทั้งหมดในตารางมาบวก กัน เช่น
$(1)(1) + (1)(2) + (1)(3) +
(2)(1) + (2)(2) + (2)(3) +
(3)(1) + (3)(2) + (3)(3)
= (1+2+3)(1+2+3) = (1+2+3)^2 $

ก็คือ $2a_{n-2} + (1^2+2^2+3^2) = (1+2+3)^2$

16 มกราคม 2012 22:35 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 17 มกราคม 2012, 10:32
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post
ผลรวมของจำนวนต่าง ๆ ในรูปสามเหลี่ยมด้านบนกับด้านล่าง จะมีเท่ากันคือ $a_{n-2}$ นั่นเองและเ้ป็นสิ่งที่เราต้องการหาครับ

ส่วนในแนวทแยงมุม จะมีผลบวกเป็น $1^2+2^2+3^2$ (สมมติว่าเป็น $(x-1)(x-2)(x-3)$)

คราวนี้ ถ้าเรานำจำนวนทั้งหมดในตารางมาบวก กัน เช่น
$(1)(1) + (1)(2) + (1)(3) +
(2)(1) + (2)(2) + (2)(3) +
(3)(1) + (3)(2) + (3)(3)
= (1+2+3)(1+2+3) = (1+2+3)^2 $

ก็คือ $2a_{n-2} + (1^2+2^2+3^2) = (1+2+3)^2$
พอถึงการหาสปส.ของ$x^{n-3}$ดูตาราง3มิติแล้วมึนเลยครับ
ใช้พีชคณิต แล้วง่ายกว่าจริงๆ
$a_{n-3}=\frac{1}{6}[(\sum_{1}^{n}n)^3-2(\sum_{1}^{n}n^2\cdot \sum_{1}^{n}n) +\sum_{1}^{n}n^3]$

ยอดเลยครับ ขอบคุณคุณ gon มากครับ

เอ!แต่ไม่รู้ผิดรึเปล่าเพราะเริ่มมึนน่ะครับ

17 มกราคม 2012 10:35 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ artty60
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 17 มกราคม 2012, 21:11
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Wink

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ artty60 View Post
พอถึงการหาสปส.ของ$x^{n-3}$ดูตาราง3มิติแล้วมึนเลยครับ
ใช้พีชคณิต แล้วง่ายกว่าจริงๆ
$a_{n-3}=\frac{1}{6}[(\sum_{1}^{n}n)^3-2(\sum_{1}^{n}n^2\cdot \sum_{1}^{n}n) +\sum_{1}^{n}n^3]$

ยอดเลยครับ ขอบคุณคุณ gon มากครับ

เอ!แต่ไม่รู้ผิดรึเปล่าเพราะเริ่มมึนน่ะครับ
ยังไม่ถูกครับ ที่ถูกคือ $$a_{n-3}= -\frac{\sum_{i=1}^n(i^3) - (\sum_{i=1}^n (i))^3 + 3a_{n-2}a_{n-1}}{3}$$
ผมคงไม่ตั้งคำถามต่อแล้วครับ เพราะถ้าจะถามตอบต่อก็คงเป็น $a_{n-4}$

ซึ่งผมขอเก็บไว้เป็นความลับสำหรับผู้ที่อยากค้นหาจริง ๆ ก็แล้วกันครับ.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 17 มกราคม 2012, 22:21
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

ว่าแล้วเชียว มึนจริงๆด้วย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 18 มกราคม 2012, 00:24
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gon View Post
ยังไม่ถูกครับ ที่ถูกคือ $$a_{n-3}= -\frac{\sum_{i=1}^n(i^3) - (\sum_{i=1}^n (i))^3 + 3a_{n-2}a_{n-1}}{3}$$
ผมคงไม่ตั้งคำถามต่อแล้วครับ เพราะถ้าจะถามตอบต่อก็คงเป็น $a_{n-4}$

ซึ่งผมขอเก็บไว้เป็นความลับสำหรับผู้ที่อยากค้นหาจริง ๆ ก็แล้วกันครับ.
ผมขอแก้ตัวใหม่คิดได้เป็น
$-\frac{1}{6}[(\sum_{i = 1}^{n}(i))^3-3(\sum_{i = 1}^{n}(i)\cdot \sum_{i = 1}^{n}(i^2)+2(\sum_{i = 1}^{n}(i))^2]$
หรือ$-\frac{\sum_{i=1}^{n}(i^3)-\sum_{i=1}^{n}(i)\sum_{i=1}^{n}(i^2)-a_{n-2}a_{n-1}}{3}$
หรือ $-\frac{(n-2)(n-1)n^2(n+1)^2}{48}$

18 มกราคม 2012 07:39 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ artty60
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 18 มกราคม 2012, 13:37
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Thumbs up

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ artty60 View Post
ผมขอแก้ตัวใหม่คิดได้เป็น
$-\frac{1}{6}[(\sum_{i = 1}^{n}(i))^3-3(\sum_{i = 1}^{n}(i)\cdot \sum_{i = 1}^{n}(i^2)+2(\sum_{i = 1}^{n}(i))^2]$
หรือ$-\frac{\sum_{i=1}^{n}(i^3)-\sum_{i=1}^{n}(i)\sum_{i=1}^{n}(i^2)-a_{n-2}a_{n-1}}{3}$
หรือ $-\frac{(n-2)(n-1)n^2(n+1)^2}{48}$
ผมไม่ได้ตรวจสอบ แต่ถ้าได้คำตอบออกมาตรงแล้ว ก็น่าจะถูกนะครับ

สำหรับ $a_{n-4}$ อันนี้ผมก็ตั้งสมการไว้เท่ ๆ แต่ยังไม่ตรวจสอบเหมือนกันครับ ยังไม่มีอารมณ์จัดรูป

(ในรูปนี้ เครื่องหมายของ $a_{i}$ ใช้เป็นบวกทั้งหมด) ก็น่าจะได้ประมาณว่า$$a_{n-4} = a_{n-3}a_{n-1} + \frac{2(a_{n-2}-a_{n-1}^2)^2 -\sum i^4}{4}$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:35


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha