Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > ข้อสอบโอลิมปิก
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2013, 19:34
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default Warm Up for POSN Camp#2

มาเตรียมสอบสอวน. ค่าย ๒
- โพสต์โจทย์อะไรก็ได้เนื้อหาไม่เกินค่าย ๒ ครับ

มาเริ่มที่โจทย์คลาสสิกๆสักข้อ
ถ้า $a,b,c \in \mathbb{Z}$ และ $a+b+c=abc$ จงหา $a+b+c$ ทั้งหมดที่สอดคล้อง
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2013, 20:37
เทพเวียนเกิด's Avatar
เทพเวียนเกิด เทพเวียนเกิด ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 มิถุนายน 2012
ข้อความ: 191
เทพเวียนเกิด is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Thgx0312555 View Post
มาเตรียมสอบสอวน. ค่าย ๒
- โพสต์โจทย์อะไรก็ได้เนื้อหาไม่เกินค่าย ๒ ครับ

มาเริ่มที่โจทย์คลาสสิกๆสักข้อ
ถ้า $a,b,c \in \mathbb{Z}$ และ $a+b+c=abc$ จงหา $a+b+c$ ทั้งหมดที่สอดคล้อง
0 เมื่อ a = 0 b = 0 c = 0
6 เมื่อ a = 1 b = 2 c = 3
-6 เมื่อ a = -1 b = -2 c = -3
หรือป่าวครับ ส่วนวิธีทำ ผมไม่รู้ครับ มั่วเลขเอา อยากรู้วิธีเหมือนกันครับ
__________________
ปีนี้ ต้องไม่พลาด สู้เพื่อ มศว ปทุมวัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2013, 20:50
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o's Avatar
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 ตุลาคม 2012
ข้อความ: 782
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Thgx0312555 View Post
มาเตรียมสอบสอวน. ค่าย ๒
- โพสต์โจทย์อะไรก็ได้เนื้อหาไม่เกินค่าย ๒ ครับ

มาเริ่มที่โจทย์คลาสสิกๆสักข้อ
ถ้า $a,b,c \in \mathbb{Z}$ และ $a+b+c=abc$ จงหา $a+b+c$ ทั้งหมดที่สอดคล้อง
$b+c=abc-a=a(bc-1)$

$a=\frac{b+c}{bc-1} $

เนื่องจาก a เป็นจำนวนเต็มดังนั้น

$\frac{b+c}{bc-1} $ ต้องเป็นจำนวนเต็ม และในกรณีที่ b+c เป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์

$b+c\geqslant bc-1$

$b-bc\geqslant -c-1$

$b(1-c)\geqslant -(c+1)$

$b\leqslant \frac{c+1}{c-1} =1+\frac{2}{c-1} \leqslant 3$

ดังนั้น $b\leqslant 3$ และในทำนองเดียวกันจะได้ว่า

$c\leqslant 3$ ด้วย

แทน (b,c)=(0,0) (0,1) (0,2) (0,3) (1,0) (1,1) (1,2) (1,3) (2,0) (2,1) (2,2) (2,3) (3,0) (3,1) (3,2) (3,3)

(b,c)=(0,0) a=0

(b,c)=(0,1)=(1,0) a=-1

(b,c)=(0,2)=(2,0) a=-2

(b,c)=(0,3)=(3,0) a=-3

(b,c)=(1,2)=(2,1) a=3

(b,c)=(1,3)=(3,1) a=2

(b,c)=(2,3)=(3,2) a=-1



กรณี b+c เป็นจำนวนเต็มลบ

$b+c\leqslant bc-1$

$b-bc\leqslant -c-1$

$b(1-c)\leqslant -(c+1)$

$b\geqslant \frac{c+1}{c-1} =1+\frac{2}{c-1} \geqslant -1$

ดังนั้น $b\geqslant -1$ และในทำนองเดียวกันจะได้ว่า

$c\geqslant -1$ ด้วย

แทน (b,c)=(-1,-1) (-1,0) (0,-1)

(b,c)=(-1,0)=(0,-1) a=1

ดังนั้น a+b+c ทั้งหมดที่สอดคล้อง
คือ 0,6,4

28 กุมภาพันธ์ 2013 20:54 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2013, 21:01
เทพเวียนเกิด's Avatar
เทพเวียนเกิด เทพเวียนเกิด ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 มิถุนายน 2012
ข้อความ: 191
เทพเวียนเกิด is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o View Post
$b+c=abc-a=a(bc-1)$

$a=\frac{b+c}{bc-1} $

เนื่องจาก a เป็นจำนวนเต็มดังนั้น

$\frac{b+c}{bc-1} $ ต้องเป็นจำนวนเต็ม และในกรณีที่ b+c เป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์

$b+c\geqslant bc-1$

$b-bc\geqslant -c-1$

$b(1-c)\geqslant -(c+1)$

$b\leqslant \frac{c+1}{c-1} =1+\frac{2}{c-1} \leqslant 3$

ดังนั้น $b\leqslant 3$ และในทำนองเดียวกันจะได้ว่า

$c\leqslant 3$ ด้วย

แทน (b,c)=(0,0) (0,1) (0,2) (0,3) (1,0) (1,1) (1,2) (1,3) (2,0) (2,1) (2,2) (2,3) (3,0) (3,1) (3,2) (3,3)

(b,c)=(0,0) a=0

(b,c)=(0,1)=(1,0) a=-1

(b,c)=(0,2)=(2,0) a=-2

(b,c)=(0,3)=(3,0) a=-3

(b,c)=(1,2)=(2,1) a=3

(b,c)=(1,3)=(3,1) a=2

(b,c)=(2,3)=(3,2) a=-1



กรณี b+c เป็นจำนวนเต็มลบ

$b+c\leqslant bc-1$

$b-bc\leqslant -c-1$

$b(1-c)\leqslant -(c+1)$

$b\geqslant \frac{c+1}{c-1} =1+\frac{2}{c-1} \geqslant -1$

ดังนั้น $b\geqslant -1$ และในทำนองเดียวกันจะได้ว่า

$c\geqslant -1$ ด้วย

แทน (b,c)=(-1,-1) (-1,0) (0,-1)

(b,c)=(-1,0)=(0,-1) a=1

ดังนั้น a+b+c ทั้งหมดที่สอดคล้อง
คือ 0,6,4
__________________
ปีนี้ ต้องไม่พลาด สู้เพื่อ มศว ปทุมวัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2013, 21:11
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o's Avatar
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 ตุลาคม 2012
ข้อความ: 782
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o is on a distinguished road
Default

คำตอบยังไม่ครบ เดี๋ยวแก้ก่อน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2013, 22:18
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o's Avatar
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 ตุลาคม 2012
ข้อความ: 782
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o is on a distinguished road
Default

เอาคนละวิธีกับวิธีที่แล้วนะครับ แต่จะคล้ายๆกัน

$b+c=abc-a=a(bc-1)$

$a=\frac{b+c}{bc-1} $

ถ้า

$$\frac{b+c}{bc-1} =1$$
$$b+c=bc-1$$
$$c+1=bc-b=b(c-1)$$
$$b=\frac{c+1}{c-1} =1+\frac{2}{c-1}$$
เนื่องจาก b เป็นจำนวนเต็ม ดังนั้น
$$\frac{2}{c-1}\in \mathbf{Z} $$
$$(c-1)\left|\,\right. 2$$
$$c=0,2,3,-1$$
$c=0,,,b=-1,,,a=1$
$c=2,,,b=3,,,a=1$
$c=3,,,b=2,,,a=1$
$c=-1,,,b=0,,,a=1$

ถ้า

$$\frac{b+c}{bc-1} =-1$$
$$b+c=1-bc$$
$$b(c+1)=1-c$$
$$b=\frac{1-c}{1+c}=-1-\frac{2}{1+c}$$
เนื่องจาก b เป็นจำนวนเต็ม ดังนั้น
$$\frac{2}{c+1}\in \mathbf{Z} $$
$$(c+1)\left|\,\right. 2$$
$$c=0,1,-2,-3$$
$c=0,,,b=-1,,,a=1$
$c=1,,,b=0,,,a=-1$
$c=-2,,,b=-3,,,a=-1$
$c=-3,,,b=-2,,,a=-1$

เนื่องจาก a,b,c อยู่ระหว่าง -3 ถึง 3 และเป็นจำนวนที่สลับกันได้(เป็นเหมือน Cyclic)
หาก a,b,c มากกว่า 3 แล้วหละก็ b+c<bc-1 จะทำให้ a ไม่เป็นจำนวนเต็ม
ดังนั้นเหลือเพียง
a=b=c=0

a+b+c ที่เป็นไปได้คือ 0,6,-6

ปล.จากวิธีที่แล้ว มีคำตอบ -4 แทนผิดครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 01 มีนาคม 2013, 07:51
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

วิธีที่สองแทน เฉพาะกรณี $a = \pm 1$ เหรอครับ ส่วนวิธีแรกก็ยังแทนค่า $(b,c)$ ไม่ครบนะครับ
แต่คำตอบถูกแล้ว

2. ให้ $n=2^{31}\times 3^{19}$ มีจำนวนนับกี่จำนวนที่เป็นตัวประกอบของ $n^2$ ที่น้อยกว่า $n$ แต่ไม่เป็นตัวประกอบของ $n$
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้

01 มีนาคม 2013 07:51 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Thgx0312555
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 01 มีนาคม 2013, 19:11
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o's Avatar
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 ตุลาคม 2012
ข้อความ: 782
lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o is on a distinguished road
Default

$n=2^{31}\cdot 3^{19}$



$3^{19}=2^n$

$19log3=xlog2$

$x=19\cdot (\frac{log3}{log2} )=30.1159468439 $

ดังนั้น $3^{19}=2^{30.1159468439}<2^{31}$

$2^{61}<2^{31}\cdot 3^{19}<2^{62}$



$2^{31}=3^y$

$31log2=ylog3$

$y=31\cdot (\frac{log2}{log3} )=19.5577447076$

ดังนั้น $2^{31}=3^{19.5577447076}<3^{20}$

$3^{38}<2^{31}\cdot 3^{19}<3^{39}$

ตัวประกอบดังกล่าวอยู่ในรูป

$2^a\cdot 3^b$

โดยที่ $a\in$ {32,33,...,61} ,$b\in$ {1,2,....,19}

หรือ $a\in$ {1,2,...,31} ,$b\in$ {20,21,...,38}



เมื่อ $a\in$ {32,33,...,61} ,$b\in$ {1,2,....,19}

จาก $\frac{log2}{log3} =0.63089499056>0.6$

(แสดงว่า เมื่อ 2 กำลังเพิ่มขึ้น 1 --- 3 กำลังลดลง 0.63089499056)

2 กำลังเพิ่มขึ้น w --- 3 กำลังลดลง $\left\lceil\,w(0.63089499056)\right\rceil $

เมื่อ

$$w=1;b={0,1,2,...,18}$$
$$w=2,3;b={0,1,2,...,17}$$
$$w=4;b={0,1,2,...,16}$$
$$w=5,6;b={0,1,2,...,15}$$
$$w=7;b={0,1,2,...,14}$$
$$w=8,9;b={0,1,2,...,13}$$
$$w=10,11;b={0,1,2,...,12}$$
$$w=12;b={0,1,2,...,11}$$
$$w=13,14;b={0,1,2,...,10}$$
$$w=15;b={0,1,2,...,9}$$
$$w=16,17;b={0,1,2,...,8}$$
$$w=18,19;b={0,1,2,...,7}$$
$$w=20;b={0,1,2,...,6}$$
$$w=21,22;b={0,1,2,...,5}$$
$$w=23;b={0,1,2,...,4}$$
$$w=24,25;b={0,1,2,3}$$
$$w=26;b={0,1,2}$$
$$w=27,28;b={0,1}$$
$$w=29,30;b={0}$$

มีทั้งสิ้น 190+10=200 จำนวน

เมื่อ $a\in$ {1,2,...,31} ,$b\in$ {20,21,...,38}

จาก $\frac{log3}{log2} =1.58504983389>1.5$

(แสดงว่า เมื่อ 3 กำลังเพิ่มขึ้น 1 --- 2 กำลังลดลง 1.58504983389)

3 กำลังเพิ่มขึ้น z --- 2 กำลังลดลง $\left\lceil\,z(1.58504983389)\right\rceil $

$$z=1;a={0,1,2,...,28}$$(29)
$$z=2;a={0,1,2,...,27}$$(28)
$$z=3;a={0,1,2,...,25}$$(26)
$$z=4;a={0,1,2,...,23}$$(24)
$$z=5;a={0,1,2,...,22}$$(23)
$$z=6;a={0,1,2,...,20}$$(21)
$$z=7;a={0,1,2,...,18}$$(19)
$$z=8;a={0,1,2,...,17}$$(18)
$$z=9;a={0,1,2,...,15}$$(16)
$$z=10;a={0,1,2,...,14}$$(15)
$$z=11;a={0,1,2,...,12}$$(13)
$$z=12;a={0,1,2,...,10}$$(11)
$$z=13;a={0,1,2,...,9}$$(10)
$$z=14;a={0,1,2,...,7}$$(8)
$$z=15;a={0,1,2,...,6}$$(7)
$$z=16;a={0,1,2,...,4}$$(5)
$$z=17;a={0,1,2,3}$$(4)
$$z=18;a={0,1}$$(2)
$$z=19;a={0}$$(1)

มีทั้งสิ้น 280 จำนวน

รวมได้ 480 จำนวน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 01 มีนาคม 2013, 20:12
ฟินิกซ์เหินฟ้า ฟินิกซ์เหินฟ้า ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 พฤศจิกายน 2012
ข้อความ: 295
ฟินิกซ์เหินฟ้า is on a distinguished road
Default

3.ให้ $x,y,z$เป็นจำนวนจริงใดๆ จงหาค่าต่ำสุดที่เป็นไปได้ของ
$\dfrac{x^2}{(4x-3y-z)^2} +\dfrac{y^2}{(4y-3z-x)^2}+\dfrac{z^2}{(4z-3x-y)^2}$

10 เมษายน 2014 12:57 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ ฟินิกซ์เหินฟ้า
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 01 มีนาคม 2013, 20:28
ความรู้ยังอ่อนด้อย's Avatar
ความรู้ยังอ่อนด้อย ความรู้ยังอ่อนด้อย ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 18 กันยายน 2010
ข้อความ: 175
ความรู้ยังอ่อนด้อย is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ ฟินิกซ์เหินฟ้า View Post
3.ให้ x y z เป็นจำนวนจริงใดๆ จงหาค่าต่ำสุดที่เป็นไปได้ของ
$\frac{x^2}{(4x-3y-z)^2} +\frac{y^2}{(4y-3z-x)^2}+\frac{z^2}{(4z-3x-y)^2}$
ผมว่ามันเกินค่ายสองนะครับ

ค่าต่ำสุดอยู่ที่ $\dfrac{10}{169}$

ปล. ถ้ามีคนเฉลยแล้วลองเฉลยวิธีคุณมาด้วยนะครับ

01 มีนาคม 2013 20:29 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ ความรู้ยังอ่อนด้อย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 01 มีนาคม 2013, 21:05
gnap's Avatar
gnap gnap ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 ธันวาคม 2011
ข้อความ: 563
gnap is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ ความรู้ยังอ่อนด้อย View Post
ผมว่ามันเกินค่ายสองนะครับ

ค่าต่ำสุดอยู่ที่ $\dfrac{10}{169}$

ปล. ถ้ามีคนเฉลยแล้วลองเฉลยวิธีคุณมาด้วยนะครับ
ทำไม่เป็นครับ
__________________
ขอปลอบใจตัวเองหน่อยนะครับ:

เอาน่า..นี่แค่สนามเดียว,ถือว่าฟาดเคราะห์ละกัน
สนามหน้าต้องดีแน่[เคราะห์โดนฟาดไปเกลี้ยงแล้วนี่นา]
สู้ๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 01 มีนาคม 2013, 21:09
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ ฟินิกซ์เหินฟ้า View Post
3.ให้ x y z เป็นจำนวนจริงใดๆ จงหาค่าต่ำสุดที่เป็นไปได้ของ
$\frac{x^2}{(4x-3y-z)^2} +\frac{y^2}{(4y-3z-x)^2}+\frac{z^2}{(4z-3x-y)^2}$
เคยเฉลยไว้ให้นานแล้วที่นี่

http://www.mathcenter.net/forum/show...5&postcount=10
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 01 มีนาคม 2013, 23:31
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

@ คุณ lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o เป็นวิธีทำที่เว่อร์จริงๆครับ นับขาดไปประมาณร้อยกว่าตัว
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 02 มีนาคม 2013, 00:20
ความรู้ยังอ่อนด้อย's Avatar
ความรู้ยังอ่อนด้อย ความรู้ยังอ่อนด้อย ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 18 กันยายน 2010
ข้อความ: 175
ความรู้ยังอ่อนด้อย is on a distinguished road
Default

ไม่แน่ใจนะครับ

$2^{62} \cdot 3^{38} = (2^a \cdot 3^b)\times (2^{62-a} \cdot 3^{38-b})$

ฉะนั้นต้องมี 1 วงเล็บที่มีค่าน้อยกว่า n ดังนั้นมีจำนวนนั้นทั้งหมด $\dfrac{63 \cdot 39-1}{2}=1228$

จำนวนที่น้อยกว่าที่หาร จำนวนที่หาร n ลงตัวและน้อยกว่า n มี $32 \cdot 20 -1 =639$

มีจำนวนนั้นอยู่ $1228-639=589$

(ตอนแรกมองโจทย์แว็บผมก็คิดแบบคุณ lnพwsะบุ๑sสุ๑xล่o แหละครับ)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 02 มีนาคม 2013, 12:22
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

ถูกแล้วครับ ใครมีโจทย์เจ๋งๆก็โพสต์โจทย์ต่อเลยครับ
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
การสอบชิงทุนการศึกษาหรือท่องเที่ยว ประเทศเกาหลี (Korea Math Camp ปี 2) -คิงแมทส์ kabinary ข่าวคราวแวดวงประถม ปลาย 0 17 มกราคม 2011 01:35
Pre MWIT Camp 2553 ~ArT_Ty~ ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น 16 16 มกราคม 2011 19:12
โครงการ แคมป์วิชาการติวสอบเข้า ม.ขอนแก่น โควต้า มข “ KKU Quota Camp by RAC ” kalonjungkub ฟรีสไตล์ 1 03 กันยายน 2010 13:41
Warm up !! POSN Siren-Of-Step ข้อสอบโอลิมปิก 10 02 สิงหาคม 2010 22:58


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 05:25


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha