Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 08 เมษายน 2008, 22:47
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

เหลือข้อสุดท้ายแล้วครับช่วยๆกันนะครับ ก่อนที่ความสนุกจะหมด
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 09 เมษายน 2008, 19:53
V.Rattanapon V.Rattanapon ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 ตุลาคม 2007
ข้อความ: 120
V.Rattanapon is on a distinguished road
Default

ข้อ 5
\[
\left. a \right)\sum\limits_{n = 2}^\infty {\frac{{F_n }}{{F_{n - 1} F_{n + 1} }}} = \sum\limits_{n = 2}^\infty {\frac{{F_{n + 1} - F_{n - 1} }}{{F_{n - 1} F_{n + 1} }} = } \sum\limits_{n = 2}^\infty {\left[ {\frac{1}{{F_{n - 1} }} - \frac{1}{{F_{n + 1} }}} \right] = } 2
\]
\[
\left. b \right)\sum\limits_{n = 2}^\infty {\frac{1}{{F_{n - 1} F_{n + 1} }}} = \sum\limits_{n = 2}^\infty {\left[ {\frac{1}{{F_{n - 1} F_{n + 1} }} \cdot \frac{{F_n }}{{F_n }}} \right]} = \sum\limits_{n = 2}^\infty {\left[ {\frac{1}{{F_{n - 1} F_n }} - \frac{1}{{F_n F_{n + 1} }}} \right] = } 1
\]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 09 เมษายน 2008, 20:08
V.Rattanapon V.Rattanapon ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 ตุลาคม 2007
ข้อความ: 120
V.Rattanapon is on a distinguished road
Default

\[
\# 8
\]
น่าจะแก้เป็น \[
\frac{1}{{11}} - \frac{1}{{1100}} + \frac{1}{{111}} - \frac{1}{{111000}} + \frac{1}{{1111}} - \frac{1}{{11110000}} + ... = \frac{1}{{10}} = 0.1
\]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 27 เมษายน 2008, 09:38
The jumpers's Avatar
The jumpers The jumpers ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 01 เมษายน 2008
ข้อความ: 432
The jumpers is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Puriwatt View Post
จงหาค่าผลบวกของอนุกรมต่อไปนี้
ข้อ 1. $$51+53+55+57++59+...+199$$
ข้อ 3. $$\frac {1}{1+\sqrt{2}} + \frac{1}{\sqrt{2}+\sqrt{3}} + \frac{1}{\sqrt{3}+\sqrt{4}}+\frac{1}{\sqrt{4}+\sqrt{5}}+...+\frac{1}{\sqrt{9999}+\sqrt{10000}}$$
1) $51 + 53 + 55 + 57 + 58 + 59 + ..... + 199$
$= (1 + 2 + ..... + 199) - (1 + 2 + ..... + 50)$
$= \frac{199(199 + 1)}{2} - \frac{50(50 + 1)}{2}$
$= 19900 - 1275$
$= 18625$
3) พิจารณา$\frac{1}{\sqrt{n + 1} + \sqrt{n}}$
$= \frac{\sqrt{n + 1} - \sqrt{n}}{(\sqrt{n + 1} + \sqrt{n})(\sqrt{n + 1} - \sqrt{n})}$
$= \frac{\sqrt{n + 1} - \sqrt{n}}{(n + 1) - (n)}$
$= \sqrt{n + 1} - \sqrt{n}$
$\therefore \frac {1}{1+\sqrt{2}} + \frac{1}{\sqrt{2}+\sqrt{3}} + \frac{1}{\sqrt{3}+\sqrt{4}}+\frac{1}{\sqrt{4}+\sqrt{5}}+...+\frac{1}{\sqrt{9999}+\sqrt{10000}}$
$= (\sqrt{2} - \sqrt{1}) + (\sqrt{3} - \sqrt{2}) + ..... + (\sqrt{10000} - \sqrt{999})$
$= \sqrt{10000} - \sqrt{1}$
$= 100 - 1$
$= 99$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 06 พฤษภาคม 2008, 13:19
Lekkoksung Lekkoksung ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 พฤศจิกายน 2007
ข้อความ: 325
Lekkoksung is on a distinguished road
Default

ขอโทษน่ะครับ คือว่าผมงงของคุณ The jumpers น่ะครับ ข้อ $3$ ที่ว่า
$$\displaystyle{\frac {1}{1+\sqrt{2}} + \frac{1}{\sqrt{2}+\sqrt{3}} + \frac{1}{\sqrt{3}+\sqrt{4}}+\frac{1}{\sqrt{4}+\sqrt{5}}+...+\frac{1}{\sqrt{9999}+\sqrt{10000}}}$$
มันเป็น $\frac{1}{\sqrt{n + 1} + \sqrt{n}}$ อย่างนี้ได้ยังไงครับ คือผมเห็นมันเป็น $\frac{1}{\sqrt{n - 1} + \sqrt{n}}$ แบบนี้มากกว่า
ถูกผิดยังไงช่วยอธิบายหน่อยน่ะครับ คือผมอาจจะยังเข้าใจอะไรผิดๆอยู่ก็ได้น่ะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 06 พฤษภาคม 2008, 15:28
Tohn's Avatar
Tohn Tohn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2008
ข้อความ: 58
Tohn is on a distinguished road
Send a message via MSN to Tohn
Default

ตอบคุณ Lekkoksung นะครับ คือว่า n ของคุณ The jumpers เป็นจำนวนนับคับ เค้านิยมกันอย่างนั้นนะ

ปล. ความสนุกน่าจะยังมีต่อนะครับ ฮิๆๆ
__________________
I'm kak.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 06 พฤษภาคม 2008, 16:13
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Default

$51+53+\cdots +199$
$=(1+3+\cdots +199)-(1+3+\cdots +49)$
$\displaystyle{=\left(\frac{199+1}{2}\right)^{2}-\left(\frac{49+1}{2}\right)^{2}}$
$=9375$
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 30 พฤษภาคม 2008, 19:12
TS_SME's Avatar
TS_SME TS_SME ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤษภาคม 2008
ข้อความ: 122
TS_SME is on a distinguished road
Default

ทำได้บางข้อเอง
__________________
ต้องคิด ต้องทำ ก่อนจะบอกว่าทำไม่ได้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 30 พฤษภาคม 2008, 22:11
คusักคณิm's Avatar
คusักคณิm คusักคณิm ไม่อยู่ในระบบ
เทพยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 มีนาคม 2008
ข้อความ: 4,888
คusักคณิm is on a distinguished road
Default

51+53+55+57+59+...+199
(199+51)/2*((199-51)+1)
=250/2=125*149=18625
2.9999/10000
__________________
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:59


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha