Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Mathcenter Contest > ปัญหาเก็บตก
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 10:17
dektep's Avatar
dektep dektep ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 มีนาคม 2007
ข้อความ: 580
dektep is on a distinguished road
Default

ข้อ $1.$
วิธีทำ เพื่อให้ไม่สับสนให้ $S=\Delta = พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC$
ดังนั้น $R=\frac{abc}{4\Delta},r=\frac{\Delta}{s}$
$\therefore Rr=\frac{abc}{4s}=\frac{abc}{2(a+b+c)}=LHS$
พิจารณาว่า $RHS=\frac{27}{(2s)^3}\sqrt{2{\Delta}^3}$ $=\frac{27}{(a+b+c)^3}\sqrt{2{\Delta}^3}$
$LHS \geq RHS \leftrightarrow \frac{abc}{2(a+b+c)} \geq \frac{27}{(a+b+c)^3}\sqrt{2{\Delta}^3}$
$\leftrightarrow (a+b+c)^2abc \geq 54\sqrt{2}\sqrt{{\Delta}^3}..............(*)$
พิจารณาว่า $a,b,c$ เป็นด้านของสามเหลี่ยมดังนั้น $a+b-c,b+c-a,c+a-b$ เป็นจำนวนจริงบวก
โดย $Am-Gm$ จะได้ว่า $\sqrt{(a+b-c)(b+c-a)} \leq \frac{(a+b-c)+(b+c-a)}{2} = b$
ในทำนองเดียวกันจะได้ว่า $\sqrt{(a+b-c)(a+c-b)} \leq a$ และ $\sqrt{(c+b-a)(a+c-b)} \leq c$
นำอสมการทั้งสามมาคูณกันจะได้ว่า $(a+b-c)(b+c-a)(c+a-b) \leq abc............(1)$
พิจารณา $\Delta = \sqrt{s(s-a)(s-b)(s-c)}=\sqrt{(\frac{a+b+c}{2})(\frac{a+b-c}{2})(\frac{a-b+c}{2})(\frac{b+c-a}{2})}.............(2)$
จาก $(1),(2)$ จะได้ว่า $\Delta \leq \sqrt{\frac{abc(a+b+c)}{2^4}}=\frac{1}{2^2}\sqrt{abc(a+b+c)} $
$\therefore \sqrt{{\Delta}^3} \leq \frac{1}{2^3}\sqrt[4]{(abc)^3(a+b+c)^3}$
$\therefore 54\sqrt{2}\sqrt{{\Delta}^3} \leq \frac{27\sqrt{2}}{4}\sqrt[4]{(abc)^3(a+b+c)^3}.............(3)$
โดยอสมการโคชีและเงื่อนไขโจทย์จะได้ว่า $1 \geq \frac{1}{a}+\frac{1}{b}+\frac{1}{c} \geq \frac{9}{a+b+c}$
ดังนั้น $a+b+c \geq 9.........(4) $
โดยอสมการ$Am-Gm$และเงื่อนไขโจทย์จะได้ว่า $1 \geq \frac{1}{a}+\frac{1}{b}+\frac{1}{c} \geq \frac{3}{\sqrt[3]{abc}}$ ดังนั้น $\sqrt[3]{abc} \geq 3 \therefore abc \geq 27.........(5)$
พิจารณา $(a+b+c)^2abc = (abc)^{\frac{3}{4}}(a+b+c)^{\frac{3}{4}}(a+b+c)^{\frac{5}{4}}(abc)^{\frac{1}{4}}$
โดย $(4),(5)$ จะได้ว่า
$(a+b+c)^2abc \geq (abc)^{\frac{3}{4}}(a+b+c)^{\frac{3}{4}}(9^{\frac{5}{4}})(27)^{\frac{1}{4}}.........(6)$
จาก $(6)$ , $(3)$ ,$9^{\frac{5}{4}}(27)^{\frac{1}{4}}>\frac{27\sqrt{2}}{4}$
จะได้ว่า $(a+b+c)^2abc > 54\sqrt{2}\sqrt{{\Delta}^3}............(7)$
จาก $(7),(*)$ จะได้ว่า $LHS > RHS$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 11:17
Mathophile's Avatar
Mathophile Mathophile ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 มีนาคม 2007
ข้อความ: 250
Mathophile is on a distinguished road
Default

ข้อ 14
เพื่อความสะดวก ให้ $\sqrt[3]{7}=k$
ฉะนั้น $x=\frac{1}{2}(k-\frac{1}{k})$
และ $1+x^2=1+\frac{1}{4}(k^2+\frac{1}{k^2}-2)=\frac{1}{4}(k^2+\frac{1}{k^2}+2)=\frac{1}{4}(k+\frac{1}{k})^2$
ดังนั้น $\sqrt{1+x^2}=\frac{1}{2}(k+\frac{1}{k})$
ทำให้ $x+\sqrt{1+x^2}=\frac{1}{2}(k-\frac{1}{k})+\frac{1}{2}(k+\frac{1}{k})=k$
ฉะนั้น $(x+\sqrt{1+x^2})^3=k^3=7$


ข้อ 15
สำหรับเมตริกซ์ $X$ ใดๆ $X^{-1}=\frac{1}{\det X}adjX$
ฉะนั้น $(2B^{-1})^{-1}=\frac{1}{\det (2B^{-1})}adj(2B^{-1})$

พิจารณา $(2B^{-1})^{-1}=\frac{B}{2}$
และ $\frac{1}{\det (2B^{-1})}adj(2B^{-1})=\frac{1}{2^4\det B^{-1}}adj(2B^{-1})=\frac{\det B}{2^4}adj(2B^{-1})=\frac{adj(2B^{-1})}{2}$
ฉะนั้น $\frac{B}{2}=\frac{adj(2B^{-1})}{2}$ นั่นคือ $B=adj(2B^{-1})$

จาก $A(adj( 2B^{-1} ))-I=B$
จึงได้ $AB- I = B$
$I=AB-B=AB-IB=(A-I)B$
$\det I=\det ((A-I)B)=\det (A-I)\cdot \det B$
$1=8\det (A-I)$
$\therefore \det (A-I)=\frac{1}{8}$

02 พฤษภาคม 2008 11:28 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Mathophile
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 13:12
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

dektep กวาด longlist ไปเกือบหมดเลยครับ


4.
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 18:38
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

1.

02 พฤษภาคม 2008 18:39 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 19:16
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

3.
Note:ทำผิดครัับ

02 พฤษภาคม 2008 20:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 19:20
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

9.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 19:56
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

16.

02 พฤษภาคม 2008 19:56 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 20:21
Art_ninja's Avatar
Art_ninja Art_ninja ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 มีนาคม 2007
ข้อความ: 184
Art_ninja is on a distinguished road
Default

มาเฉลยโจทย์ของผมเองครับ(จริงๆ แล้วผมเห็นคุณ owlpenguin ทำไม่ถูกน่ะครับเพราะว่าคำตอบข้อนี้มีถึง $30$ คำตอบด้วยกัน และแน่นอนว่า $0$ ก็เป็นคำตอบหนึ่ง)
3.$\rm (Longlist)$จงหาจำนวนจริง a ทั้งหมดที่ทำให้
$\displaystyle \left\lfloor\ \frac{a}{2} \right\rfloor+\left\lfloor\ \frac{a}{3} \right\rfloor+\left\lfloor\ \frac{a}{5} \right\rfloor = a$

วิธีทำ
เนื่องจาก $a$ เป็นจำนวนจริงใดๆ จึงสามารถที่จะเขียนได้ว่า
$a=30k+r$ เมื่อ $k \in \mathbb{Z}$ และ $0 \leq r<30$
นำไปเเทนค่าจะได้ว่า
$\left\lfloor\ \frac{30k+r}{2} \right\rfloor+\left\lfloor\ \frac{30k+r}{3} \right\rfloor+\left\lfloor\ \frac{30k+r}{5} \right\rfloor = 30k+r$
ดังนั้น
$k=r-\left\lfloor\ \frac{r}{2} \right\rfloor-\left\lfloor\ \frac{r}{3} \right\rfloor-\left\lfloor\ \frac{r}{5} \right\rfloor$
สมมติว่า $r \not\in \mathbb{Z}$
จะได้ว่า $k$ ไม่เป็นจำนวนเต็ม เกิดข้อขัดแย้ง
ดังนั้น $r \not\in \mathbb{Z}$
ซึ่งทำให้คำตอบของสมการนี้มีทั้งหมด $30$ คำตอบเนื่องจาก $r=0,1,2,3,...,29$
ดังนั้นคำตอบของสมการจะต้องอยู่ในเซต $A=\left\{\ 30k+r\left|\,\right.k=r-\left\lfloor\ \frac{r}{2} \right\rfloor-\left\lfloor\ \frac{r}{3} \right\rfloor-\left\lfloor\ \frac{r}{5} \right\rfloor , r=0,1,2,3,...,29 \right\}$

ป.ล.คุณ owlpenguin ทำยังไม่ถูกนะครับ ผมเดาว่าเป็นเพราะว่าคุณ owlpenguin ทำเป็น ceiling function รึเปล่าครับ
__________________
Defeat myself successfully is the most successful in my life...

02 พฤษภาคม 2008 20:23 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Art_ninja
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 20:27
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ dektep View Post
5. ให้ $A_1=\mu+\mu^3+\mu^4+\mu^{-4}+\mu^{-3}+\mu^{-1}=\mu+\mu^3+\mu^4+\mu^9+\mu^{10}+\mu^{12}$
$A_2=\mu^2+\mu^5+\mu^6+\mu^{-6}+\mu^{-5}+\mu^{-2}=\mu^2+\mu^5+\mu^6+\mu^7+\mu^8+\mu^{11}$
$A_1+A_2=-1$
$A_1\cdot A_2 = -3$
ดังนั้นสมการที่มี $A_1,A_2$ เป็นรากคือ $x^2+x-3=0$
สำหรับคำถามผมถูกแล้วครับ
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #25  
Old 02 พฤษภาคม 2008, 21:37
Anonymous314's Avatar
Anonymous314 Anonymous314 ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มีนาคม 2008
ข้อความ: 546
Anonymous314 is on a distinguished road
Default

16.ครับ My Solution from imo shortlists 1979
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #26  
Old 04 พฤษภาคม 2008, 12:35
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

ลองๆเช็คดูเหลือข้อ 17 เท่านั้นที่ยังไม่มีคนทำ ใครอยากลองทำข้อนี้บ้างเอ่ย
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #27  
Old 04 พฤษภาคม 2008, 17:15
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

มันดูแปลกๆยังไงชอบกลอ่ะครับ เี่ดี๋ยวช่วยเช็คว่าผมผิดตรงไหนครับ
17.

04 พฤษภาคม 2008 17:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #28  
Old 05 พฤษภาคม 2008, 01:27
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

เท่าที่ผมดูไม่น่าจะผิดนะครับ แต่เจ้าของโจทย์ใช้ inversion กับวงกลม $\omega$ สู่วงกลม $C_1,\ C_2$ ครับ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 15:36


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha