Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Mathcenter Contest > ปัญหาเก็บตก
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 24 พฤษภาคม 2008, 00:28
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default Mathcenter Contest Round 1 University Longlist

__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 24 พฤษภาคม 2008, 08:56
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

1.2.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 26 พฤษภาคม 2008, 11:10
Anonymous314's Avatar
Anonymous314 Anonymous314 ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มีนาคม 2008
ข้อความ: 546
Anonymous314 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ owlpenguin View Post
พิจารณา $f(x)=\frac{x}{ln(x)}$ จะพบว่าจุดต่ำสุดเมื่อ $x>1$ เกิดขึ้นที่ $x=e$
$\therefore\frac{e}{ln(e)}<\frac{\pi}{ln(\pi)}$
$eln(\pi)<\pi$
$ln(\pi^e)<\pi$
$\therefore\pi^e<e^\pi$
4.ถ้า $a>b>e$ set $a=\frac{n(n+1)}{2},b=\frac{n(n-1)}{2}$
เพราะว่า $f(x)$ เป็นฟังก์ชันเพิ่มบนช่วง $(e,\infty)$
$\frac{a}{ln a}>\frac{b}{ln b}$
ได้ว่า $a^b<b^a$
นั่นคือ $(1+2+\cdots + n)^{1+2+\cdots+(n-1)}<(1+2+\cdots+(n-1))^{1+2+\cdots+n}$

26 พฤษภาคม 2008 21:03 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Anonymous314
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 26 พฤษภาคม 2008, 17:46
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ข้อ 3 ผมพิสูจน์ได้แค่ว่ามัน converge ครับ...
Ratio Test
$\lim_{x \to \infty}\left|\frac{(k+1)e^{-(k+1)^2}}{ke^{-k^2}}\right|=\lim_{x \to \infty}\frac{k+1}{k}e^{-2k+1}=0<1$
ดังนั้น ผลบวก converges

27 พฤษภาคม 2008 16:44 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 26 พฤษภาคม 2008, 17:51
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ owlpenguin View Post
ข้อ 3 ผมทำผมตรงไหน ช่วยเช็คให้ทีครับ
Ratio Test
$\lim_{x \to \infty}\left|\frac{(k+1)e^{-(k+1)^2}}{ke^{-k^2}}\right|=\lim_{x \to \infty}\frac{k+1}{k}e^{\frac{k^2}{(k+1)^2}}=e>1$
ดังนั้น ผลบวก diverges
เลขชี้กำลังของ e ต้องลบกันสิครับ ไม่ใช่หารกัน
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 26 พฤษภาคม 2008, 18:13
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ผมเครียดเลยครับ มึนของแบบนี้ได้ไง...
ข้อ 3 นี่หน้าตามันคล้ายๆ error function นะครับ แต่ไม่รู้ว่ามันจะเอามาใช้ได้หรือเปล่า
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 26 พฤษภาคม 2008, 23:30
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ owlpenguin View Post
ผมเครียดเลยครับ มึนของแบบนี้ได้ไง...
ข้อ 3 นี่หน้าตามันคล้ายๆ error function นะครับ แต่ไม่รู้ว่ามันจะเอามาใช้ได้หรือเปล่า
อย่าเพิ่งถอดใจสิครับ เปลี่ยนจากหารเป็นลบก็คิดต่อได้แล้ว ข้อนี้ใช้ Ratio, Comparison, Integral Test ได้หมดครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 27 พฤษภาคม 2008, 18:38
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

วิธีหาค่าประมาณในข้อ 3 นี่ทำยังไงครับ ช่วยแสดงวิธีคิดให้ทีครับ
ไม่แน่ใจว่าข้อ 5 นี่ถูกหรือไม่ แต่มีความรู้สึกว่าผิด ช่วยเช็คให้ทีครับ
$\lim_{x \to \infty} f'(x)=\lim_{x\to\infty}\lim_{h\to 0}\frac{f(x+h)-f(x)}{h}=\lim_{h\to 0}\lim_{x\to\infty}\frac{f(x+h)-f(x)}{h}=\lim_{h\to 0}\frac{A-A}{h}=\lim_{h\to 0}0=0$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 29 พฤษภาคม 2008, 23:29
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

สำหรับโจทย์ข้อ 5 คุณ thisisclick ได้ให้ตัวอย่างค้านไว้ดังนี้

$\displaystyle{f(x)= \cases{\frac{\sin{(x^3)}}{x^2}+2 & , x \neq 0 \cr 2 & , x = 0}}$

ลองดูวิธีคิดของผมแล้วลองจับผิดดูนะครับ


ต้องขออภัยเป็นอย่างสูงสำหรับความผิดพลาดในครั้งนี้ครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 30 พฤษภาคม 2008, 23:20
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
สำหรับโจทย์ข้อ 5 คุณ thisisclick ได้ให้ตัวอย่างค้านไว้ดังนี้

$\displaystyle{f(x)= \cases{\frac{\sin{(x^3)}}{x^2}+2 & , x \neq 0 \cr 2 & , x = 0}}$

ลองดูวิธีคิดของผมแล้วลองจับผิดดูนะครับ


ต้องขออภัยเป็นอย่างสูงสำหรับความผิดพลาดในครั้งนี้ครับ
ถ้าจะให้ผมเดาจุดผิด ผมจะเดาตรงตอนที่คูณ $e^x$ ทั้งเศษและส่วน เพราะว่ามันเหมือนกับการคูณด้วย $\frac{\infty}{\infty}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 31 พฤษภาคม 2008, 21:09
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ owlpenguin View Post
ถ้าจะให้ผมเดาจุดผิด ผมจะเดาตรงตอนที่คูณ $e^x$ ทั้งเศษและส่วน เพราะว่ามันเหมือนกับการคูณด้วย $\frac{\infty}{\infty}$
จุดที่ผิดคือการใช้ L'Hospital Rule ครับ มีใครมองออกบ้างว่าผิดยังไง
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

31 พฤษภาคม 2008 21:10 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 12 มิถุนายน 2008, 04:38
Onasdi's Avatar
Onasdi Onasdi ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2005
ข้อความ: 760
Onasdi is on a distinguished road
Default

เพราะว่า $\displaystyle{\lim_{x\to\infty}(f(x)+f'(x))}$ อาจจะไม่มีค่ารึเปล่าครับ

12 มิถุนายน 2008 04:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Onasdi
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 12 มิถุนายน 2008, 08:11
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Onasdi View Post
เพราะว่า $\displaystyle{\lim_{x\to\infty}(f(x)+f'(x))}$ อาจจะไม่มีค่ารึเปล่าครับ
ใช่ครับ ที่เป็นเช่นนี้มาจากการใช้ L'Hospital Rule แบบผิดๆครับ

L'Hospital Rule ใช้ได้ข้างเดียว คือ

$$\lim_{x\to\infty}\frac{f'(x)}{g'(x)}=A\Rightarrow\lim_{x\to\infty}\frac{f(x)}{g(x)}=A$$

แต่ขากลับจะไม่จริง ผมเอาขากลับมาใช้ด้วยความเคยชินก็เลยผิดครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 12 มิถุนายน 2008, 16:44
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ใครก็ได้ช่วยเฉลยข้อ 6 ให้ทีครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 12 มิถุนายน 2008, 23:52
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

อันนี้เป็นวิธีของคุณ Timestopper ครับ

วิธีทำ :
เนื่องจาก $f$ มีอนุพันธ์ทุกอันดับ สำหรับทุกจำนวนจริง ดังนั้นจะได้ว่า $\displaystyle{f\in C^{\infty}}$ ทำให้ได้ว่า
$$f(x)=\sum_{k=0}^{\infty}\frac{f^{(k)}(0)x^{k}}{k!}=1-x+\sum_{k=2}^{\infty}\frac{f^{(k)}(0)x^{k}}{k!}\rightarrow f'(x)=-1+\sum_{k=1}^{\infty}\frac{f^{(k+1)}(0)x^{k}}{k!}$$
$$f'\left(\frac{1}{2}\right)\leq -1+\sum_{k=1}^{\infty}\left(\frac{1}{2}\right)^{k}\frac{1}{k(k+1)k!}$$
ให้ $\displaystyle{a_{n}=\left(\frac{1}{2}\right)^{n}\frac{1}{n(n+1)!}}$ จะได้ว่า $\displaystyle{\frac{a_{n+1}}{a_{n}}=\frac{n}{2(n+1)(n+2)}<\frac{1}{6}}$ ทำให้ได้ว่า
$$f'\left(\frac{1}{2}\right)\leq\sum_{k=1}^{\infty}a_{k}<-1+\frac{1}{4}\sum_{k=0}^{\infty}\left(\frac{1}{6}\right)^{k}=-\frac{7}{10}$$
จากทฤษฎีบทค่ามัชฌิมจะได้ว่ามี $\displaystyle{c\in\left(0,\frac{1}{2}\right)}$ ที่ $\displaystyle{f''(c)=\frac{f'\left(\frac{1}{2}\right)-f'(0)}{\left(\frac{1}{2}\right)-0}=\frac{3}{5}}$
และ $\displaystyle{\frac{1}{2c}>1>\frac{3}{5},\forall c\in\left(0,\frac{1}{2}\right)}$
ดังนั้นจึงได้ว่ามี $c$ ที่มีคุณสมบัติตามที่โจทย์ต้องการ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Mathcenter Contest Round 1 Matayom Longlist nongtum ปัญหาเก็บตก 11 02 มีนาคม 2015 11:36
Mathcenter Contest Round 1 Olympic Longlist nongtum ปัญหาเก็บตก 10 09 สิงหาคม 2008 16:24
Mathcenter Contest Round 0 Longlist nongtum ปัญหาเก็บตก 27 05 พฤษภาคม 2008 01:27


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 11:03


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha