Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > คณิตศาสตร์อุดมศึกษา
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 25 มกราคม 2008, 22:48
MINGA MINGA ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 สิงหาคม 2006
ข้อความ: 74
MINGA is on a distinguished road
Default Necessary condition of convergent series.

If $ \sum_{n = 1}^{\infty} {a_n} $ exists, then $\lim_{n \to \infty}{n\cdot a_n}=0 $
พิสูจน์ยังไงอ่าครับผม?
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 25 มกราคม 2008, 23:59
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ไม่จริงครับ ตัวอย่างเช่น $a_n=\dfrac{(-1)^n}{\sqrt{n}}$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 26 มกราคม 2008, 01:55
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ข้อความนี้ก็ยังไม่จริงสำหรับอนุกรมบวก เช่น

$$a_n=\cases{\frac{1}{n} & , n=k^2 \cr \frac{1}{n^2} & , n\neq k^2} $$
จะเห็นว่า $$\sum_{n=1}^{\infty} a_n\leq 2\sum_{n=1}^{\infty} \frac{1}{n^2}$$
แต่ $\lim_{n\to\infty}na_n$ หาค่าไม่ได้
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 26 มกราคม 2008, 11:11
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Default

ถ้าเราบอกว่าอนุกรมอนันต์นั้น exists จะเหมือนกับ converges ใช่ไหมครับแล้วถ้า finite นี่หมายถึงว่าต้องหาค่าได้ด้วยเลยหรือว่าเหมือนกับ 2 อันแรกครับ
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 26 มกราคม 2008, 22:09
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Timestopper_STG View Post
ถ้าเราบอกว่าอนุกรมอนันต์นั้น exists จะเหมือนกับ converges ใช่ไหมครับแล้วถ้า finite นี่หมายถึงว่าต้องหาค่าได้ด้วยเลยหรือว่าเหมือนกับ 2 อันแรกครับ
$-\infty < \sum a_n < \infty$

$\sum a_n$ is finite

$\sum a_n$ converges

$\sum a_n$ exists

ทั้งหมดนี้มีความหมายเหมือนกันว่าอนุกรม $\sum a_n$ ลู่เข้า ครับ
คำว่าลู่เข้าหมายถึงอนุกรมมีค่าผลบวกเป็นจำนวนจริง (หรือจำนวนเชิงซ้อน)
ค่าผลบวกก็นิยามผ่านทางลิมิตของผลบวกย่อยของอนุกรมนั้นๆครับ

หลายคนมักจะสับสนเหมารวมเอาอนุกรมที่ลู่ออกบางประเภทมาเป็นอนุกรมลู่เข้าด้วย เช่น

$$\sum a_n=\infty$$

จริงๆแล้ว $\infty$ ไม่ใช่จำนวนแต่อย่างใดเป็นแค่สัญลักษณ์ที่บ่งบอกว่า
อนุกรมนี้มีค่าผลบวกย่อยมากขึ้นไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 31 มกราคม 2008, 12:53
MINGA MINGA ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 สิงหาคม 2006
ข้อความ: 74
MINGA is on a distinguished road
Default

ขอโทษครับ ผมตกเงื่อนไขสำคัญไป คือ $\left( a_n \right) $ is nonincreasing
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 31 มกราคม 2008, 15:55
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

นอกจาก nonincreasing แล้วผมว่า น่าจะมี $ a_n$ เป็นจำนวนจริงบวก อีกเงื่อนไขหรือเปล่าครับ ลองเช็คอีกทีนะครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 01 กุมภาพันธ์ 2008, 10:46
MINGA MINGA ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 สิงหาคม 2006
ข้อความ: 74
MINGA is on a distinguished road
Default

คือว่า ถ้ามัน nonincreasing แล้ว จะถูกบีบให้เป็นอนุกรมบวกทันที เพื่อให้ลิมิต $a_n$ เป็น 0

03 กุมภาพันธ์ 2008 17:10 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ MINGA
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 01 กุมภาพันธ์ 2008, 11:12
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ให้ $S_n$ เป็นลำดับผลบวกย่อยของอนุกรมนี้
เนื่องจากอนุกรมลู่เข้า $S_n$ จะเป็น Cauchy Sequence
ใช้ความจริงอันนี้พิสูจน์ว่า

1. $2na_{2n}$ ลู่เข้าหา $0$

2. $(2n+1)a_{2n+1}$ ลู่เข้าหา $0$

จาก 1 และ 2 จะได้ว่า $na_n$ ลู่เข้าหา $0$ ครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 03 กุมภาพันธ์ 2008, 17:11
MINGA MINGA ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 สิงหาคม 2006
ข้อความ: 74
MINGA is on a distinguished road
Default

เอ...แล้วใช้ยังไงอ่าครับ

แล้วพิสูจน์สองข้อนั้นยังไงอ่าครับ

03 กุมภาพันธ์ 2008 17:23 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: double post
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 03 กุมภาพันธ์ 2008, 22:58
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

ใบ้เพิ่มให้อีกหน่อยครับ

สำหรับข้อ 1 ที่คุณ nooonuii hint ไว้

$$ S_{2n}-S_n = a_{n+1}+a_{n+2}+\cdots a_{2n} \geq \underbrace{a_{2n}+a_{2n}+\cdots a_{2n}}_{n \,\,terms}=na_{2n} $$

แล้วลองคิดต่อว่า $ S_{2n}-S_n $ converges สู่ค่าใด


สำหรับข้อที่ 2

ลองพิจารณาอสมการนี้และผลจากข้อ 1 ดูครับ

$$ (2n+1)a_{2n+1} \leq \frac{2n+1}{2n}(2na_{2n}) $$
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 04 กุมภาพันธ์ 2008, 15:29
MINGA MINGA ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 สิงหาคม 2006
ข้อความ: 74
MINGA is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ เข้าใจแล้วครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 05 กุมภาพันธ์ 2008, 23:16
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

เสริมนิดนึงครับ คือ สิ่งที่ได้พิสูจน์กันไปข้างต้นนี้ เรียกว่า Abel-Pringsheim theorem ครับ

จะเห็นได้ว่า ถ้า sequences เป็น positive nonincreasing และให้อนุกรม convergent แล้ว sequences ดังกล่าว จะ converge สู่ 0 เร็วกว่า $ \frac{1}{n}$ ครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Sequences and Series Marathon Timestopper_STG คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 161 01 พฤษภาคม 2015 16:45
Series ZiLnIcE ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย 6 22 กุมภาพันธ์ 2013 11:22
Convergent&Divergent ZiLnIcE ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย 12 15 สิงหาคม 2007 20:54
ปัญหาชิงรางวัลข้อที่ 22: Infinite Series warut คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 4 02 พฤศจิกายน 2006 05:35
Series intarapaiboon คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 3 02 ตุลาคม 2005 10:58


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 01:59


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha