Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ค้นหา ข้อความวันนี้ ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 20 พฤษภาคม 2015, 00:28
share share ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 เมษายน 2013
ข้อความ: 1,211
share is on a distinguished road
Default จริงไหมครับที่ 1+2+3+4+...... = - (1/12)

คือผมสงสัยว่าจำนวนนับบวกกันไปเรื่อยๆทำไมถึงได้เศษส่วนครับ

สมาชิกหมายเลข 1466341
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 20 พฤษภาคม 2015, 10:53
mathislifeyess's Avatar
mathislifeyess mathislifeyess ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 01 กันยายน 2013
ข้อความ: 90
mathislifeyess is on a distinguished road
Default

จริงครับบผม
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 20 พฤษภาคม 2015, 22:08
share share ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 เมษายน 2013
ข้อความ: 1,211
share is on a distinguished road
Default

ไม่มี คำอธิบาย หรือ แหล่งอ้างอิง ให้บ้างเลยหรือครับ

อืม ไม่ชอบ คำตอบแบบ ถูก/ผิด เลย
รบกวนรายละเอียด

ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 20 พฤษภาคม 2015, 22:19
กขฃคฅฆง's Avatar
กขฃคฅฆง กขฃคฅฆง ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 เมษายน 2015
ข้อความ: 419
กขฃคฅฆง is on a distinguished road
Default

http://m.youtube.com/watch?v=w-I6XTVZXww
__________________
เหนือฟ้ายังมีอวกาศ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 20 พฤษภาคม 2015, 22:49
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

จริงๆก่อนจะตอบคำถามแบบนี้ได้ ต้องตอบให้ได้ก่อนครับว่าการบวกกันเป็นอนันต์คืออะไร

ถ้าหมายถึง $\lim_{n \rightarrow \infty} (1+2+\cdots + n)$ ก็ไม่จริงครับ
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้

20 พฤษภาคม 2015 23:07 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Thgx0312555
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 21 พฤษภาคม 2015, 00:24
share share ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 เมษายน 2013
ข้อความ: 1,211
share is on a distinguished road
Default

555 อ่านมาตั้งหลาย ๆๆๆๆ แล้วคร้าบ ขอบคุณ

คุณ "กองทัพลิงบุกโลก !!" (Pantip) นำเสนอ 17 พฤษภาคม

http://th.wikipedia.org/wiki/1_%2B_2..._%2B_%E2%8B%AF
อะ ลองอ่านอันนี้ดูครับ น่าสนใจดีเหมือนกัน ไม่คิดเหมือนกันแฮะ ว่าอนุกรมธรรมดาๆ เอาไปใช้ในทฤษฎีสตริงได้ด้วย
เออ เก๋ดีแฮะ ไอ้เราอ่านตามก็ทึ่ง เหรอ เอาไปใช้งี้ได้ด้วย
//แต่จะว่าไปก็เห็นด้วยนะ อนุกรมลู่ออกมันหาลิมิตไม่ได้แล้วจะมาสรุปแบบนี้ได้ไงหว่า แต่บางที ถ้ายอมๆ ไปบ้าง
อาจจะดีกว่าก็ได้นะ เพราะในต้องแรกที่เรายังไม่ยอมรับจำนวนเชิงซ้อน ก็ไม่มีใครคิดเหมือนกันว่ามันจะเอามาใช้ประโยชน์ได้ขนาดนี้

ตกลง 1+2+3+4+...... = - (1/12)
อยากให้สรุปประเด็นว่า เขาถกถีงอะไรกันหรือครับ
แล้วทำไมเขียนเป็นอย่างนั้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 21 พฤษภาคม 2015, 00:45
Thgx0312555's Avatar
Thgx0312555 Thgx0312555 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 สิงหาคม 2011
ข้อความ: 885
Thgx0312555 is on a distinguished road
Default

ถ้าใช้นิยามแบบธรรมดา : ไม่มีค่า
ถ้าใช้นิยาม Ramanujan sum : -1/12
อ่านดูได้ตามลิงค์ครับ
__________________
----/---~Alice~ จงรับรู้ไว้ ชื่อแห่งสีสันหนึ่งเดียวที่แสดงผล
---/---- ~Blue~ นี่คือ สีแห่งความหลังอันกว้างใหญ่ของเว็บบอร์ดนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 22 พฤษภาคม 2015, 22:53
share share ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 เมษายน 2013
ข้อความ: 1,211
share is on a distinguished road
Default

มันไม่ได้ "เท่ากับ" แต่มันเป็นค่าที่ใช้เป็นตัวแทนของอนุกรมนั้นได้แล้วทำให้อนุกรมนั้นกลายเป็นมีความหมายขึ้นมา

มีประโยคหนึ่งที่ผมว่าน่าจะใช้สื่อถึงแนวคิดได้ดี

เขาบอกว่า ให้ลองคิดถึง "รูท(-1)" ดู จริงๆแล้วมันก็ไม่มีความหมาย หาก็ไม่ได้ รูทของจำนวนลบจะมีได้ไง
ซึ่งนักคณิตศาสตร์เมื่อก่อน ถ้าไปเจอรูทของจำนวนลบเมื่อไหร่ สมการนั้นก็จบ ได้แค่ยอมแพ้ เพราะมันทำต่อไม่ได้
"แต่ถ้าเรายอมให้มันหาค่าได้ล่ะ?" เมื่อเราสร้างจำนวนจินตภาพขึ้นมา เราทำให้ รูท(-1) หาค่าได้
แล้วมันก็เปิดประตูขjองการคำนวณใหม่ๆมากมาย

ในเคสนี้ก็คล้ายๆกันครับ -1/12 ไม่ใช่ค่านั้นจริงๆ แต่เป็นค่าที่ใช้แทนได้ "ในขอบเขตโดเมนๆหนึ่ง"

สมาชิกหมายเลข 1556149
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 23 พฤษภาคม 2015, 17:02
Pitchayut Pitchayut ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2015
ข้อความ: 352
Pitchayut is on a distinguished road
Default

ผมว่าแปลกนะ ที่รู้อยู่แล้วว่า 1+2+3+4+... ลู่ออก แต่ก็ยังพยายามหาค่าของมันอยู่ดี
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 25 พฤษภาคม 2015, 11:06
share share ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 เมษายน 2013
ข้อความ: 1,211
share is on a distinguished road
Default

อย่าสับสนครับ

กระทู้ที่นำเสนอ เนื้อหานั้นเกี่ยวกับ
การ "กำหนดค่า" ไม่ใช่ การ "หาค่า"

จึงเห็นด้วยกับ สมาชิกหมายเลข 1556149
แต่ขอเสนอแก้ "แต่ถ้าเรายอมให้มันหาค่าได้ล่ะ?" เป็น
"แต่ถ้าเรา "กำหนดค่า" ให้มันล่ะ?"


ในชีวิตจริง คนเราใช้วิธี "กำหนดค่า / name / nominal"
ให้สิ่งต่าง ๆ ตั้งแต่บุพพกาล
เรา"กำหนดค่า / ชื่อ" ให้ ดวงกลม ๆ แดงแสบตา ว่า "อาทิตย์ / sun"


Real versus nominal value
The distinction between real value and nominal value occurs in many fields. From a philosophical viewpoint, nominal value represents an accepted condition which is a goal or an approximation as opposed to the real value, which is always present. Often a "nominal" value is "de facto" rather than an exact, typical, or average measurement.

Wikipedia

การกำหนดค่า ทำให้เรา มีเครื่องมือ ใช้เพิ่มขึ้น
ลองนึกถึงตัว catalyst ในเคมีสิ เราใช้เป็น เครื่องมือ ทำนองเดียวกัน


Catalysis is the increase in the rate of a chemical reaction due to the participation of an additional substance called a catalyst.[1] With a catalyst, reactions occur faster and with less energy. Because catalysts are not consumed, they are recycled. Often only tiny amounts are required.[2]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
ค้นหาในหัวข้อนี้:

ค้นหาขั้นสูง

กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 15:05


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha