Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #46  
Old 28 พฤษภาคม 2010, 10:35
R.Wasutharat R.Wasutharat ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 เมษายน 2010
ข้อความ: 48
R.Wasutharat is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
1. $\sqrt[3]{a-b} + \sqrt[3]{b-c} = - \sqrt[3]{c-a}$
จงหาค่าของ $2009(a-b)(b-c)(c-a)$
เนื่องจาก $\sqrt[3]{a-b} + \sqrt[3]{b-c} + \sqrt[3]{c-a} = 0$ ดังนั้น $(a-b)(b-c)(c-a) = 0$
นั้นคือ $2009(a-b)(b-c)(c-a) = 0$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #47  
Old 28 พฤษภาคม 2010, 14:21
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
มาเพิ่มให้ ง่ายมาก ๆ



จงหาค่าของ $2009(a-b)(b-c)(c-a)$
2. $\dfrac{a}{b}+ \dfrac{b}{c} + \dfrac{c}{a} = 4$
$\dfrac{a}{c}+ \dfrac{b}{a} + \dfrac{c}{b} = 5$

จงหา $(a+b)(b+c)(c+a)$
ถ้าผิดพลาดข้อไหนช่วยบอกทีงับ
คำตอบเป็นตัวเลขหรือเปล่าครับ หรือติดค่า abc

ตอบ 11abc ?
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #48  
Old 28 พฤษภาคม 2010, 17:20
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ banker View Post
คำตอบเป็นตัวเลขหรือเปล่าครับ หรือติดค่า abc

ตอบ 11abc ?
แสดงวิธีทำด้วย ครับ ลุง ๆ
__________________
Fortune Lady
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #49  
Old 28 พฤษภาคม 2010, 17:35
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
มาเพิ่มให้ ง่ายมาก ๆ


2. $\dfrac{a}{b}+ \dfrac{b}{c} + \dfrac{c}{a} = 4$
$\dfrac{a}{c}+ \dfrac{b}{a} + \dfrac{c}{b} = 5$

จงหา $(a+b)(b+c)(c+a)$
ถ้าผิดพลาดข้อไหนช่วยบอกทีงับ
$\dfrac{a}{b}+ \dfrac{b}{c} + \dfrac{c}{a} = 4$ ..... (1)

$\dfrac{a}{c}+ \dfrac{b}{a} + \dfrac{c}{b} = 5$ ......(2)

(1) + (2) $ \ \ \frac{a+c}{b} + \frac{b+c}{a} + \frac{a+b}{c} = 9$

$\dfrac{ac(a+c) + bc(b+c) + ab(a+b)}{abc} = 9$

$ac(a+c) + bc(b+c) + ab(a+b) = 9abc$

$a^2c + ac^2 + b^2c + bc^2 + a^2b+ab^2 = 9abc$

$(a+b)(b+c)(c+a) - 2abc = 9abc$

$(a+b)(b+c)(c+a) = 11abc$
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #50  
Old 28 พฤษภาคม 2010, 17:52
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

โทดทีครับ เปลี่ยนโจทย์เป็น

$(\dfrac{a}{b}+\dfrac{b}{c})(\dfrac{b}{c}+\dfrac{c}{a})(\dfrac{c}{a}+\dfrac{a}{b})$
__________________
Fortune Lady
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #51  
Old 04 กันยายน 2010, 17:35
SolitudE's Avatar
SolitudE SolitudE ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 ตุลาคม 2009
ข้อความ: 845
SolitudE is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
2. $\dfrac{a}{b}+ \dfrac{b}{c} + \dfrac{c}{a} = 4$
$\dfrac{a}{c}+ \dfrac{b}{a} + \dfrac{c}{b} = 5$

จงหา $(\dfrac{a}{b}+\dfrac{b}{c})(\dfrac{b}{c}+\dfrac{c}{a})(\dfrac{c}{a}+\dfrac{a}{b})$
ถ้าผิดพลาดข้อไหนช่วยบอกทีงับ
ตอบ 19
วิธีทำ $(\dfrac{a}{b}+ \dfrac{b}{c} + \dfrac{c}{a})(\dfrac{a}{c}+ \dfrac{b}{a} + \dfrac{c}{b}) = \dfrac{a^2}{bc}+\dfrac{ab}{c^2}+1+1+\dfrac{b^2}{ac}+\dfrac{bc}{a^2}+\dfrac{ac}{b^2}+1+\dfrac{c^2}{ab}$

$(\dfrac{a}{b}+\dfrac{b}{c})(\dfrac{b}{c}+\dfrac{c}{a})(\dfrac{c}{a}+\dfrac{a}{b}) = 1+\dfrac{b^2}{ca}+\dfrac{c^2}{ab}+\dfrac{bc}{a^2}+\dfrac{a^2}{bc}+\dfrac{ab}{c^2}+\dfrac{ca}{b^2}+1$

เพราะ $(\dfrac{a}{b}+ \dfrac{b}{c} + \dfrac{c}{a})(\dfrac{a}{c}+ \dfrac{b}{a} + \dfrac{c}{b}) = 4*5 = 20$

ดังนั้น $(\dfrac{a}{b}+\dfrac{b}{c})(\dfrac{b}{c}+\dfrac{c}{a})(\dfrac{c}{a}+\dfrac{a}{b}) = 20-1 = 19$

ไม่รู้ว่าทำแบบนี้ไม่ได้ไหม แต่ไม่น่าจะผิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #52  
Old 04 กันยายน 2010, 21:20
Dark matter's Avatar
Dark matter Dark matter ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 สิงหาคม 2010
ข้อความ: 24
Dark matter is on a distinguished road
Default

ข้อ3 ผมคิดได้4 อะครับ
(1!+2!+3!+4!+5!+....)= xxxxxxx3
(0!+1!+2!+3!+4!+5!+...)= xxxxxx4
(1!+3!+5!+...)= xxxxxxx7

(1!+2!+3!+...+100!)(0!+1!+2!+...+99!)(1!+3!+5!+...+97!) = xxxxxxxxxxx4


(1!+2!+3!+...+100!)(0!+1!+2!+...+99!)(1!+3!+5!+...+97!) หาร10 เหลือเศษ4
__________________
มีเพียงสิ่งเดียวในชีวิตที่จะสามารถพิชิตได้โดยไม่ต้องใช้ความพยายามมากมายคือความล้มเหลว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #53  
Old 14 กันยายน 2010, 23:33
[FC]_Inuyasha's Avatar
[FC]_Inuyasha [FC]_Inuyasha ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 พฤษภาคม 2008
ข้อความ: 244
[FC]_Inuyasha is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
เห็นว่าช่วงนี้เบื่อ ๆ

3.จงหาเศษที่เกิดจากการนำ $(1!+2!+3!+...+100!)^{({0!+1!+2!+...+99!})^{({1!+3!+5!+...+97!})}}$ หารด้วย $10$
คุณ Darkmatter โจทย์มันเป็นยกกำลังซ้อนไม่ใช่หรือครับ
ของผมคิดได้ 1(ไม่รู้ถูกรึเปล่า)

$1!+2!+3!+...+100!$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $3$
เราหาว่า $3^{ขยุ้มนึง}$ หารด้วย $10$ เหลือเศษเท่าไหร่
ก็ พิจารณา $3^1$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $3$
$3^2$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $9$
$3^3$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $7$
$3^4$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $1$
.
.
.
เพราะฉะนั้น เราต้องดูว่า{ขยุ้มนึง} หารด้วย 4 แล้วเหลือเศษเท่าไหร่
{ขยุ้มนึง}=${(0!+1!+2!+...+99!)}^{(1!+3!+5!+...+97!)}$
$0!+1!+2!+...+99!$ หารด้วย $4$ เหลือ เศษ $0!+1!+2!+3!=10 \equiv 2$
จะได้ ว่า{ขยุ้มนึง} หารด้วย $4$ เหลือเศษ $2^{(1!+3!+5!+...+97!)}$
$2^n$ จะหารด้วย $4$ ลงตัวเมื่อ $n\geqslant 2$(ในที่นี้พิจารราเมื่อ $n$ เป็นจน.เต็ม เพราะ อะไร! ก็ได้เป็นจน.เต็มอยู่แล้ว)
ดังนั้น $2^{(1!+3!+5!+...+97!)}$ หารด้วย $4$ เหลือเศษ $0$;
{ขยุ้มนึง} หารด้วย $4$ จึงเหลือเศษ $0$ เช่นกัน

ก้จะตรงกับเงื่อนไขด้านบน ($3^4$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $1$)
$\therefore $ตอบ เศษ 1

ผิดตรงไหนบอกด้วยนะครับ
__________________
เขาไม่รู้ว่ามันเป็นไปไม่ได้ เขาจึงทำมันสำเร็จ1% คือพรสวรรค์ อีก99% คือความพยายาม(โทมัส อัลวา เอดิสัน)

14 กันยายน 2010 23:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 5 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ [FC]_Inuyasha
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #54  
Old 15 กันยายน 2010, 20:15
~ArT_Ty~'s Avatar
~ArT_Ty~ ~ArT_Ty~ ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 1,081
~ArT_Ty~ is on a distinguished road
Default

ขอผมลงบ้างนะครับ

กำหนดลำดับเลขคณิต $a_1,a_2,a_3,...,a_n$ ที่มีผลต่างร่วมเป็น $d$

จงหาค่าของ $\sum_{k= 1}^{n-1} \frac{1}{a_k\cdot a_{k+1}} $
__________________
...สีชมพูจะไม่จางด้วยเหงื่อ แต่จะจางด้วยนํ้าลาย...
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #55  
Old 15 กันยายน 2010, 23:02
Dark matter's Avatar
Dark matter Dark matter ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 สิงหาคม 2010
ข้อความ: 24
Dark matter is on a distinguished road
Thumbs up

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ [FC]_Inuyasha View Post
คุณ Darkmatter โจทย์มันเป็นยกกำลังซ้อนไม่ใช่หรือครับ
ของผมคิดได้ 1(ไม่รู้ถูกรึเปล่า)

$1!+2!+3!+...+100!$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $3$
เราหาว่า $3^{ขยุ้มนึง}$ หารด้วย $10$ เหลือเศษเท่าไหร่
ก็ พิจารณา $3^1$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $3$
$3^2$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $9$
$3^3$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $7$
$3^4$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $1$
.
.
.
เพราะฉะนั้น เราต้องดูว่า{ขยุ้มนึง} หารด้วย 4 แล้วเหลือเศษเท่าไหร่
{ขยุ้มนึง}=${(0!+1!+2!+...+99!)}^{(1!+3!+5!+...+97!)}$
$0!+1!+2!+...+99!$ หารด้วย $4$ เหลือ เศษ $0!+1!+2!+3!=10 \equiv 2$
จะได้ ว่า{ขยุ้มนึง} หารด้วย $4$ เหลือเศษ $2^{(1!+3!+5!+...+97!)}$
$2^n$ จะหารด้วย $4$ ลงตัวเมื่อ $n\geqslant 2$(ในที่นี้พิจารราเมื่อ $n$ เป็นจน.เต็ม เพราะ อะไร! ก็ได้เป็นจน.เต็มอยู่แล้ว)
ดังนั้น $2^{(1!+3!+5!+...+97!)}$ หารด้วย $4$ เหลือเศษ $0$;
{ขยุ้มนึง} หารด้วย $4$ จึงเหลือเศษ $0$ เช่นกัน

ก้จะตรงกับเงื่อนไขด้านบน ($3^4$ หารด้วย $10$ เหลือเศษ $1$)
$\therefore $ตอบ เศษ 1

ผิดตรงไหนบอกด้วยนะครับ
ขอโทษครับ ดูผิด ขอบคุณที่มาแก้ให้ครับ
__________________
มีเพียงสิ่งเดียวในชีวิตที่จะสามารถพิชิตได้โดยไม่ต้องใช้ความพยายามมากมายคือความล้มเหลว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #56  
Old 16 กันยายน 2010, 10:12
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

โจทย์ของน้องอาร์ทเหมือนโจทย์สอวน.ม.ปลายที่เพิ่งสอบกันนิครับ....รู้สึกว่าจะเป็นของมช. หรือสวนกุหลาบจำบ่ได้
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #57  
Old 16 กันยายน 2010, 12:57
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

$d\times\frac{1}{a_k a_{k+1}} = (\frac{1}{a_k} -\frac{1}{a_{k+1}} )$

$\frac{1}{a_k a_{k+1}} = \frac{1}{d} \times(\frac{1}{a_k} -\frac{1}{a_{k+1}} )$

$\sum_{k= 1}^{n-1} \frac{1}{a_k\cdot a_{k+1}} = \frac{1}{d} \times(\frac{1}{a_1} -\frac{1}{a_n})$

$= \frac{1}{d}\times(\frac{(n-1)d}{a_1\times (a_1+(n-1)d)})$

$=\frac{(n-1)}{a_1 \times a_n } $

ผมคิดออกมาได้เท่านี้ ไม่รู้ว่าถูกไหม
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
POSN ^_______^ Siren-Of-Step ฟรีสไตล์ 3 11 เมษายน 2010 15:37


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 19:02


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha