Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 27 กันยายน 2004, 15:59
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Post ตรีโกณมิติหลุดโลก ?

สืบเนื่องจากกระทู้ โจทย์พีชคณิตมั่งดีกว่า มีคน request ปัญหาตรีโกณมิติหลุดโลกนะครับ. ผมก็เลยหยิบมาให้ตามคำขอ แต่ไม่รู้ว่าจะหลุดโลกหรือเปล่า หยิบมาให้ 5 ข้อ ครับ. ใครสนใจลองเล่นข้อไหนเชิญเลย

27 กันยายน 2004 16:00 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 27 กันยายน 2004, 18:11
<J@O>
 
ข้อความ: n/a
Post

ขอบคุณคร๊าบบบ......ท่านพี่มังกร
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 27 กันยายน 2004, 18:37
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Thumbs up

หลุดระบบสุริยะไปเลยคราวนี้ คงเป็นที่สะใจโจ๋กันถ้วนหน้า

ไม่ทำแต่ขอออกความเห็นนะครับ
ข้อ 1. ข้อนี้น่าจะทำด้วยเทคนิคที่คุณ gon เคยแนะนำมาแล้วตามเดิมมั้ง ซึ่งผมก็ยังไม่
เคยลงมือทำจริงๆเลยสักครั้ง
ข้อ 2. ข้อนี้ถ้ายอมให้ผมใช้ความรู้เกี่ยวกับค่าของ S1/n2, S1/n4, S1/n6 ผมคิดว่า
ผมน่าจะทำได้นะ
ข้อ 3. เดาว่าน่าจะทำด้วยการกระจาย sin หรือ cos ของฟังก์ชันง่ายๆอะไรสักอันนึง
ออกเป็นผลคูณอนันต์โดยอาศัยความรู้เกี่ยวกับรากทั้งหมดของมัน แล้วเทียบกับ
Taylor's series อีกที
ข้อ 4-5 เป็นข้อที่ผมชอบมากที่สุด
ข้อ 4. ผมคิดโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ Euler's infinite product expansion ของ
Riemann's zeta function แต่ถ้าไม่ใช้ความรู้อันนี้ผมก็ยังไม่รู้จะทำยังไงเหมือนกัน
อ้อ...แต่ผมว่าคำตอบที่ถูกน่าจะเป็น p/15 นะครับ
ข้อ 5. นึกอยู่ตั้งนานแน่ะกว่าจะจำได้ว่านี่มันมาจาก Maclaurin's series ของ
(sin-1x)2 แต่ผมก็จำไม่ได้อยู่ดีว่าพิสูจน์ยังไง

28 กันยายน 2004 08:45 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warut
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 28 กันยายน 2004, 02:28
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

โอ...ผมว่าหลุดทางช้างเผือกไปแล้วล่ะ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 28 กันยายน 2004, 11:50
maracana maracana ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 กุมภาพันธ์ 2002
ข้อความ: 8
maracana is on a distinguished road
Post

Thanks brother gon for the "outlandish" problems.
__________________
There's some good in this world, and it's worth fighting for.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 28 กันยายน 2004, 14:26
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Wink

ครับ. คงสะใจโจ๋กันทั่วหน้า

ข้อ 2. ประมาณว่าอยากให้เล่นหา Euler zeta function กรณี s = 2, 4, 6 มาเองก่อนครับ. แล้วก็ลุย ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ อิ อิ ผมมันบ้าคลั่ง ข้อนี้ท่าจะเล่นต้องกระดึ๊บตั้งแต่ 1/n2(n + k)2 , 1/n3(n + k)3 , ... , 1/n2(n + k)6 ถึงกำลัง 6 นี่ผมหมดพลังตายคาที่แล้ว คือหาไว้ล่วงหน้าน่ะครับ.เผื่ออนาคตผม Solve , กรณีที่ n = 3 ออก(ฝันกลางวัน) จะได้เล่นอะไรกันต่อไปอีกทีเดียวเลยไม่ขาดตอน

ข้อ 4. ขอบคุณสำหรับคำเตือนของคุณ warut น่ะครับ. เดี๋ยวผมจะลองไปตรวจสอบดูอีกที

ข้อ 5. ประมาณว่าอยากเล่นหาค่า p สไตล์รามานุจันบ้าง แค่เศษเสี้ยวก็ยังดี แต่รู้สึกยังห่างไกลอีกล้านปีแสง

จะ request อีกก็ได้นะครับ. เดี๋ยวผมจะไปหยิบมาให้อีก

28 กันยายน 2004 14:28 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 01 มกราคม 2005, 04:41
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

ปีใหม่นี้ผมขอมอบเฉลยข้อ 4. ให้เป็นของขวัญกับผู้สนใจทุกท่านครับ

ผมขอเริ่มโดยให้ \(\zeta\left(s\right)\) แทน Riemann's zeta function
ในที่นี้ผมขอกล่าวถึงเฉพาะกรณีที่ s เป็นจำนวนจริงเท่านั้นนะครับ
เรานิยามให้
\[\zeta\left(s\right)=\sum_{n=1}^\infty\frac{1}{n^s}\]
เมื่อ s > 1
ถ้า s = 2m เป็นจำนวนคู่ เราสามารถหาค่าของ \(\zeta\left(s\right)\) ให้ออกมาในรูปอย่างง่ายได้ดังนี้
\[\zeta\left(2m\right)=\frac{\left(-1\right)^{m-1}B_{2m}\left(2\pi\right)^{2m}}{2\left(2m\right)!}\]
เมื่อ B2m คือ Bernoulli number ตัวที่ 2m
ดังนั้นเราจะได้ว่า \(\zeta\left(2\right)=\frac{\pi^2}{6}, \zeta\left(4\right)=\frac{\pi^4}{90},
\zeta\left(6\right)=\frac{\pi^6}{945}\) เป็นต้น

Euler พบว่า
\[\frac{1}{\zeta\left(s\right)}=\prod_{i=1}^\infty\left(1-\frac{1}{p_i^s}\right) =
\left(1-\frac{1}{2^s}\right)\left(1-\frac{1}{3^s}\right)\left(1-\frac{1}{5^s}\right)\dots\]
เมื่อ pi แทนจำนวนเฉพาะตัวที่ i

คราวนี้กลับมาที่โจทย์ข้อ 4. ของเรากัน
เนื่องจาก \(\tan\theta_i=p_i\) เราจะได้ว่า
\[\sin\theta_i=\frac{p_i}{\sqrt{1+p_i^2}}\]
ดังนั้น
\[\prod_{i=1}^\infty\sin\theta_i=\sqrt{\prod_{i=1}^\infty\frac{p_i^2}{1+p_i^2}}\]
\[
=\sqrt{\frac{\prod_{i=1}^\infty\left(1-\frac{1}{p_i^2}\right)}{\prod_{i=1}^\infty\left(1-\frac{1}{p_i^4}\right)}}
\]
\[=\sqrt{\frac{6/\pi^2}{90/\pi^4}}=\frac{\pi}{\sqrt{15}}\]
โจทย์ข้อนี้ใช้ LaTeX มันจริงๆ

01 มกราคม 2005 05:14 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warut
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 01 มกราคม 2005, 14:56
TOP's Avatar
TOP TOP ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 มีนาคม 2001
ข้อความ: 1,003
TOP is on a distinguished road
Smile

เยี่ยมไปเลย คุณ warut แสดงว่าคำตอบคือ p/15 ไม่ใช่ p/30 กำลังเอาใจช่วยให้มาเฉลยข้ออื่นๆต่อนะครับ
__________________
The difference between school and life?
In school, you're taught a lesson and then given a test.
In life, you're given a test that teaches you a lesson.

01 มกราคม 2005 14:57 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ TOP
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 02:50


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha