Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 06 กรกฎาคม 2014, 20:53
pont494 pont494 ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 30 มกราคม 2011
ข้อความ: 405
pont494 is on a distinguished road
Default โจทย์พิสูจน์ ทฤษฎีจำนวน

สำหรับจำนวนเต็มบวก n จงพิสูจน์ข้อความต่อไปนี้
1. $24 \mid (2*7^n+3*5^n-5)$ โจทย์แนะนำให้ใช้อุปนัย แต่ผมทำไม่ได้ครับ ช่วยแสดงวิธีทำด้วยครับ
2. $(3!)^n \mid (3n)!$

ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 06 กรกฎาคม 2014, 21:53
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

$2\cdot 7^{n+1}+3\cdot 5^{n+1}-5=(2\cdot 7^n+3\cdot 5^n-5)+12(7^n+5^n)$

ก้อนหลังหารด้วย $24$ ลงตัวได้ยังไงกันนะ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

09 กรกฎาคม 2014 21:26 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
เหตุผล: พิมพ์ผิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 07 กรกฎาคม 2014, 20:32
pont494 pont494 ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 30 มกราคม 2011
ข้อความ: 405
pont494 is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ คุณ nooonuii
ได้ข้อนี้แล้วครับ ตอนแรกผมคำนวณผิดไปเองครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 07 กรกฎาคม 2014, 22:38
Poogunexe's Avatar
Poogunexe Poogunexe ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2012
ข้อความ: 36
Poogunexe is on a distinguished road
Default

หา combinatorial proof ข้อสองดีกว่า
มียางลบเหมือนอยู่ 3n ก้อน เขียนเลข 1,2,3,...,n บนยางลบ เลขละละสามก้อน
นำยางลบทั้ง 3n ก้อนมาวางเรียงเป็นเส้นตรง ได้ $\frac{(3n)!}{(3!)^n} $ วิธี ซึ่งยังไงวิธีเรียงสิ่งของมันก็เป็นจำนวนเต็ม
ฉะนั้น $\frac{(3n)!}{(3!)^n} $ ก็เป็นจำนวนเต็ม ดังนั้น $(3!)^n\mid (3n)!$
__________________
SKN #33
POSN 2012-2013 IPST 1/2014
TMO 10th Bronze & TMO 11th Silver medal
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 08 กรกฎาคม 2014, 19:58
Thamma Thamma ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 กุมภาพันธ์ 2013
ข้อความ: 307
Thamma is on a distinguished road
Default






09 กรกฎาคม 2014 01:11 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Thamma
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 09 กรกฎาคม 2014, 14:04
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

ข้อแรก ใช้เรื่อง modulo เมื่อ n เป็นเลขคู่เลขคี่ พิสูจน์ได้ว่า $24 \mid (2*7^n+3*5^n-5)$

ยังไม่เข้าใจวิธีของคุณNooonuii ครับ รู้แค่ว่าก้อนหลังสุดหารด้วย24ลงตัว

ข้อสอง ก็ใช้เลอจองด์

09 กรกฎาคม 2014 15:04 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ artty60
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 09 กรกฎาคม 2014, 15:15
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ artty60 View Post
ข้อแรก ใช้เรื่อง modulo เมื่อ n เป็นเลขคู่เลขคี่ พิสูจน์ได้ว่า $24 \mid (2*7^n+3*5^n-5)$

ยังไม่เข้าใจวิธีของคุณNooonuii ครับ รู้แค่ว่าก้อนหลังสุดหารด้วย24ลงตัว

ข้อสอง ก็ใช้เลอจองด์
โจทย์ให้ใช้อุปนัยครับ ที่ผมเขียนไว้เป็นการพิสูจน์ขั้นอุปนัย
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 09 กรกฎาคม 2014, 18:09
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

ขอรบกวนคุณNooonuiiอีกสักครั้งนะครับ ผมงงกับเครื่องหมายลบตรง $3\cdot 5^{n+1}$ของก้อนแรกน่ะครับ และถ้าอุปนัยแบบนี้ แสดงว่าก้อนแรกหารด้วย24ลงตัว เราจะรู้ได้อย่างไรครับ ผมรู้สึกว่ามันวนกลับไปที่จุดเดิม
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 09 กรกฎาคม 2014, 19:18
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ artty60 View Post
ขอรบกวนคุณNooonuiiอีกสักครั้งนะครับ ผมงงกับเครื่องหมายลบตรง $3\cdot 5^{n+1}$ของก้อนแรกน่ะครับ และถ้าอุปนัยแบบนี้ แสดงว่าก้อนแรกหารด้วย24ลงตัว เราจะรู้ได้อย่างไรครับ ผมรู้สึกว่ามันวนกลับไปที่จุดเดิม
มันคือสมมติฐานขั้นอุปนัยครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 09 กรกฎาคม 2014, 20:24
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
มันคือสมมติฐานขั้นอุปนัยครับ
เข้าใจแล้วครับ ขอบคุณมากครับ แต่ว่าตรง $- 3\cdot 5^{n+1}$ คงจะเป็น $+3\cdot 5^{n+1} $ ใช่มั้ยครับ

09 กรกฎาคม 2014 20:28 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ artty60
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 10 กรกฎาคม 2014, 09:25
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ artty60 View Post
เข้าใจแล้วครับ ขอบคุณมากครับ แต่ว่าตรง $- 3\cdot 5^{n+1}$ คงจะเป็น $+3\cdot 5^{n+1} $ ใช่มั้ยครับ
พิมพ์ผิดครับ ขอบคุณที่ช่วยตรวจสอบครับ แก้ให้แล้ว
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 17:19


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha