Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > บทความคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #91  
Old 29 กันยายน 2010, 10:40
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ผมคงต้องกลับไปดูเรื่องของEuler's theoremให้เข้าใจมากกว่าตอนนี้ก่อนแล้วจะรบกวนถามครับ
ขอบคุณครับคุณOnasdiที่ยกตัวอย่างให้เห็น
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #92  
Old 01 ตุลาคม 2010, 18:58
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Onasdi View Post
โดยทั่วไปแล้ว $\phi(n)$ ยังไม่ใช่ค่าที่น้อยที่สุดครับ แต่ก็มีกรณีที่ใช่ครับ

$a=2,~n=7$
$2^1 \equiv 2 \pmod{7}$
$2^2 \equiv 4 \pmod{7}$
$2^3 \equiv 1 \pmod{7}$
แต่ $\phi(7)=6$
===============
$a=3,~n=5$
$3^1 \equiv 3 \pmod{5}$
$3^2 \equiv 4 \pmod{5}$
$3^3 \equiv 2 \pmod{5}$
$3^4 \equiv 1 \pmod{5}$
และ $\phi(5)=4$
เราจะหาตัวน้อยสุดได้ไหมครับ ซึ่ง $a^n \equiv 1 \pmod{m}$

01 ตุลาคม 2010 18:59 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Siren-Of-Step
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #93  
Old 02 ตุลาคม 2010, 03:39
Onasdi's Avatar
Onasdi Onasdi ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2005
ข้อความ: 760
Onasdi is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
เราจะหาตัวน้อยสุดได้ไหมครับ ซึ่ง $a^n \equiv 1 \pmod{m}$
ผมคิดว่าไม่มีวิธีทั่วไปนะครับ ไม่แน่ใจเหมือนกัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #94  
Old 02 ตุลาคม 2010, 14:11
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

ถามหน่อยครับ $a^{\phi (n)} \equiv 1 \pmod{n}$
$a,n$ ต้องเป็น co-prime ใช่ปะครับ
__________________
Fortune Lady
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #95  
Old 02 ตุลาคม 2010, 17:59
Onasdi's Avatar
Onasdi Onasdi ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2005
ข้อความ: 760
Onasdi is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
ถามหน่อยครับ $a^{\phi (n)} \equiv 1 \pmod{n}$
$a,n$ ต้องเป็น co-prime ใช่ปะครับ
ใช่แล้วครับ นั่นเป็นเงื่อนไขของทฤษฎี

ถ้า $(a,n)\ne 1$ จะได้ว่ามีจำนวนเฉพาะ $p$ ที่หารทั้ง $a$ และ $n$
ดังนั้น $p\not|a^{\phi (n)}-1$ ทำให้ $n\not|a^{\phi (n)}-1$
นั่นคือ $a^{\phi (n)} \not\equiv 1 \pmod{n}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #96  
Old 02 ตุลาคม 2010, 21:25
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

มีทฤษฎี/เทคนิค อย่างอื่นไหมครับ ที่ช่วยในการทำโจทย์เร็วขึ้น
__________________
Fortune Lady
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #97  
Old 03 ตุลาคม 2010, 03:09
Onasdi's Avatar
Onasdi Onasdi ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2005
ข้อความ: 760
Onasdi is on a distinguished road
Default

น่าจะมีเยอะครับ ต้องทำโจทย์เยอะๆถึงได้พวกเทคนิคครับ

เทคนิคนึงที่คิดออกคือการแยกตัวประกอบของตัวหาร
เช่นถ้าเราจะหา $n$ ที่น้อยๆที่ทำให้ $7^{n} \equiv 1 \pmod{15}$
เราก็อาจจะแยก $15=3\times 5$ แล้วทำ mod 3 กับ mod 5 ตามนี้ครับ

$7^{4} \equiv 1 \pmod{5}$ และ
$7^{2} \equiv 1 \pmod{3}$ จึงได้ $7^{4} \equiv 1 \pmod{3}$
ดังนั้น $7^{4} \equiv 1 \pmod{3\times 5}$

จะเห็นว่าวิธีนี้ดีกว่าการใช้ Euler's theorem ตรงๆ
เพราะถ้าใช้ตรงๆจะได้ $\phi(15)=\phi(3)\phi(5)=8$
ดังนั้น $7^{8} \equiv 1 \pmod{15}$

03 ตุลาคม 2010 03:11 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Onasdi
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #98  
Old 03 ตุลาคม 2010, 10:22
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

จริงๆผมน่าจะเอ๊ะใจตามที่คุณOnasdi ได้แสดงให้เห็นในกระทู้ก่อนๆแล้ว ในที่เขียนว่า
อ้างอิง:
$7^{4} \equiv 1 \pmod{5}$ และ
$7^{2} \equiv 1 \pmod{3}$ จึงได้ $7^{4} \equiv 1 \pmod{3}$
ดังนั้น $7^{4} \equiv 1 \pmod{3\times 5}$
ผมก็เคยสงสัยว่าเราจะสรุปแบบนั้นได้หรือเปล่า
สมมุติเราหาเศษจากการหาร$A^k$ด้วย$B*C$
เราแยกออกเป็น$\frac{A^m}{B} \times \frac{A^n}{C}$ เมื่อ$m+n=k$
$A^m = BX+r $ เมื่อ$r$ เป็นเศษ....คือ$A^m \equiv r \pmod{B} $
$A^n = CY+s $ เมื่อ$s$ เป็นเศษ....คือ$A^n \equiv s \pmod{C} $
$A^k=(BX+r)(CY+s ) =BCXY+rCY+sBX+rs $
เศษจากการหารคือ$rCY+sBX+rs$
ในกรณีที่เป็นตัวอย่าง
$7^4 =49*49 =2401 =3(800)+1$
$7^4 =49*49 =2401 =5(480)+1$
$B=3,C=5$
$X=800,Y=480,r=1,s=1$
เศษที่เกิดขึ้นคือ $CY+BX+1 = 5(480)+3(800)+1$
โชคดีที่$480$หารด้วย$3$ลงตัว และ$300$หารด้วย$5$ลงตัว
จึงเหลือเศษเป็น $1$ อย่างเราต้องการ
ถ้าเป็นกรณีโดยทั่วไปที่ไม่ได้ตรงกันแบบนี้ มันน่าจะสรุปแบบนั้นไม่ได้ โดยเฉพาะถ้า$r,s$ ไม่ได้เป็น $1$
ไม่รู้ว่าผมเข้าใจตรงไหนผิดหรือเปล่า.....
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

03 ตุลาคม 2010 10:23 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #99  
Old 03 ตุลาคม 2010, 15:31
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ลองให้$A^k$ หารด้วย$M$ และ$M=BC$ดู
$A^k = BX+r$.... $A^k \equiv r \pmod{B} $
$A^k = CY+s$.... $A^k \equiv s \pmod{C} $
$A^k = ZM+t$.... $A^k \equiv t \pmod{M} $
เมื่อ$X,Y,Z$ เป็นผลหารและ $r,s,t$ เป็นเศษ
ดังนั้น $BX+r = CY+s = ZM+t$
ถ้าให้เศษเท่ากันหมดคือ $r=s=t=1$ จะยุบเหลือ
$BX = CY = ZM$
$\frac{B}{C} =\frac{Y}{X} $
ดังนั้นเราจะสรุปได้ว่า
ถ้า $A^k \equiv 1 \pmod{B} $
และ $A^k \equiv 1 \pmod{C} $
แล้ว $A^k \equiv 1 \pmod{M=B\times C} $
ได้เมื่อ $\frac{B}{C} =\frac{Y}{X} $
ผมลองคิดต่อเล่นๆเท่านั้น....
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #100  
Old 03 ตุลาคม 2010, 16:28
Onasdi's Avatar
Onasdi Onasdi ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2005
ข้อความ: 760
Onasdi is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
จริงๆผมน่าจะเอ๊ะใจตามที่คุณOnasdi ได้แสดงให้เห็นในกระทู้ก่อนๆแล้ว ในที่เขียนว่า

ผมก็เคยสงสัยว่าเราจะสรุปแบบนั้นได้หรือเปล่า
สมมุติเราหาเศษจากการหาร$A^k$ด้วย$B*C$
เราแยกออกเป็น$\frac{A^m}{B} \times \frac{A^n}{C}$ เมื่อ$m+n=k$
$A^m = BX+r $ เมื่อ$r$ เป็นเศษ....คือ$A^m \equiv r \pmod{B} $
$A^n = CY+s $ เมื่อ$s$ เป็นเศษ....คือ$A^n \equiv s \pmod{C} $
$A^k=(BX+r)(CY+s ) =BCXY+rCY+sBX+rs $
เศษจากการหารคือ$rCY+sBX+rs$
ในกรณีที่เป็นตัวอย่าง
$7^4 =49*49 =2401 =3(800)+1$
$7^4 =49*49 =2401 =5(480)+1$
$B=3,C=5$
$X=800,Y=480,r=1,s=1$
เศษที่เกิดขึ้นคือ $CY+BX+1 = 5(480)+3(800)+1$
โชคดีที่$480$หารด้วย$3$ลงตัว และ$300$หารด้วย$5$ลงตัว
จึงเหลือเศษเป็น $1$ อย่างเราต้องการ
ถ้าเป็นกรณีโดยทั่วไปที่ไม่ได้ตรงกันแบบนี้ มันน่าจะสรุปแบบนั้นไม่ได้ โดยเฉพาะถ้า$r,s$ ไม่ได้เป็น $1$
ไม่รู้ว่าผมเข้าใจตรงไหนผิดหรือเปล่า.....
ที่ผมทำไม่ใช่ $k=m+n$ ครับ เพราะว่า $m=n=k=4$
สิ่งที่ผมใช้คือ $$ถ้า\quad X \equiv Y \pmod{B}\quad และ\quad X \equiv Y \pmod{C} \quad แล้ว \quad X \equiv Y \pmod{ค.ร.น.[B,C]}$$ลองดูครับว่าทำไมถึงจริง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #101  
Old 03 ตุลาคม 2010, 16:46
-SIL-'s Avatar
-SIL- -SIL- ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 01 มกราคม 2010
ข้อความ: 348
-SIL- is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ banker View Post
ตัวอย่างที่ 6.

เศษเหลือจากการหาร $7^{2541}$ ด้วย $4$ เท่ากับเท่าใด


วิธีทำ
$ \ \ \ \ \ \ \ \ 7^{2541}= (4+3)^{2541}$

$ \ \ \ \ \ \ \ \ 3^{2541} = (3^3)^{847} =(27)^{847} =(6(4)+3)^{847}$

$ \ \ \ \ \ \ \ \ 3^{847} = (3^7)^{121} =(2187)^{121} =(546(4)+3)^{121}$

$ \ \ \ \ \ \ \ \ 3^{121} =(3^{11})^{11} = (177147)^{11}

= (44286(4)+3)^{11}$

$ \ \ \ \ \ \ \ \ 3^{11} = 177147$ หารด้วย $4$ เหลือเศษ $3$


เศษจากการหาร $7^{2541}$ ด้วย $4$
= เศษจากการหาร $3^{2541}$ ด้วย $4$
= เศษจากการหาร $3^{847}$ ด้วย $4$
= เศษจากการหาร $3^{121}$ ด้วย $4$
= เศษจากการหาร $3^{11}$ ด้วย $4$
= $3$
อีกมุมมองนึงครับ (ใช้พหุคูณ)
$7^{2541} = (8-1)^{2541} = 8k-1 = 4n+3$
__________________
เวลาที่เหลืออยู่มีวิธีการใช้สองแบบ คือ
ทางที่เรียบง่ายไม่มีอะไร กับอีกทาง ที่ทุกอย่างล้วนมหัศจรรย์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #102  
Old 03 ตุลาคม 2010, 19:45
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Onasdi View Post
$$ถ้า\quad X \equiv Y \pmod{B}\quad และ\quad X \equiv Y \pmod{C} \quad แล้ว \quad X \equiv Y \pmod{ค.ร.น.[B,C]}$$
ตรงนี้น่าสนใจมากเลยครับ ผมลองพิสูจน์ดู
$\quad X \equiv Y \pmod{B}\quad $ ดังนั้น $\quad X= MB+Y \quad$
$\quad X \equiv Y \pmod{C} \quad $ ดังนั้น $\quad X= NC+Y \quad$
ถ้า ค.ร.น. ของ$B,C$ คือ $D$ จะได้ว่า $\quad D= BP \quad ,\quad D=CQ \quad $
ดังนั้น$\quad X=\dfrac{MD}{P}+Y \quad = \dfrac{ND}{Q}+Y \quad$

ถ้า$\quad \dfrac{M}{P} และ \quad ,\quad \dfrac{N}{Q} \quad$ เป็นจำนวนเต็ม

เราเลยเขียนได้ว่า $\quad X \equiv Y \pmod{ค.ร.น.[B,C] = D} \quad$
ผมเข้าใจถูกไหมครับ.....
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #103  
Old 03 ตุลาคม 2010, 20:50
Onasdi's Avatar
Onasdi Onasdi ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2005
ข้อความ: 760
Onasdi is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
ถ้า$\quad \dfrac{M}{P} และ \quad ,\quad \dfrac{N}{Q} \quad$ เป็นจำนวนเต็ม
อันนี้เป็นสมมติฐานหรือว่าสรุปได้แล้วครับ?

เปลี่ยน mod เป็นการหารลงตัว ก็จะเห็นได้ด้วย $B|Z,~C|Z~\Rightarrow~[B,C]|Z$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #104  
Old 03 ตุลาคม 2010, 21:20
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

จริงด้วยสิครับ....เปลี่ยนmodไปเป็นการหารลงตัว
เข้าใจแล้วครับ วันนี้ได้ความรู้เพิ่มอีกอย่างหนึ่งแล้ว
ขอบคุณครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #105  
Old 04 ตุลาคม 2010, 13:13
ความรู้ยังอ่อนด้อย's Avatar
ความรู้ยังอ่อนด้อย ความรู้ยังอ่อนด้อย ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 18 กันยายน 2010
ข้อความ: 175
ความรู้ยังอ่อนด้อย is on a distinguished road
Default

คุณกิติครับ คุณหาหนังสือจากไหนหรอครับ

ผมอยากหาลองมาอ่านดูตอนที่ผมยังไม่เก่งเลย

ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 21:56


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha