Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 05 ธันวาคม 2010, 20:26
Influenza_Mathematics's Avatar
Influenza_Mathematics Influenza_Mathematics ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 568
Influenza_Mathematics is on a distinguished road
Default http://www.mathcenter.net/sermpra/sermpra23/sermpra23p04.shtml

ตรงแทนค่า $a,b,c$ เพื่อหา $k$ นี่เราแทนอะไรก็ได้เลยใช่ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 05 ธันวาคม 2010, 21:16
Yuranan Yuranan ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 ธันวาคม 2010
ข้อความ: 175
Yuranan is on a distinguished road
Default

ใช่ครับ หรืออีกวิธีใช้การเทียบสัมประสิทธิ์เอาครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 25 ธันวาคม 2010, 11:14
Influenza_Mathematics's Avatar
Influenza_Mathematics Influenza_Mathematics ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 568
Influenza_Mathematics is on a distinguished road
Default

ถามเพิ่มครับ สมมุติมันดีกรีสูง ๆ เช่น
$a^{543}(b-c) + b^{543}(c-a) + c^{543}(a-b)$ จะหาพหุนาม cyclic ที่เป็นตัวประกอบหมดหรอครับ
__________________
ขว้างมุขเสี่ยว ๆ ใส่กันน่าจะมันแฮะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 26 ธันวาคม 2010, 10:12
Influenza_Mathematics's Avatar
Influenza_Mathematics Influenza_Mathematics ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 568
Influenza_Mathematics is on a distinguished road
Default

ปลุก ๆ หน่อยครับ
__________________
ขว้างมุขเสี่ยว ๆ ใส่กันน่าจะมันแฮะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 26 ธันวาคม 2010, 11:35
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

สำหรับ $n\geq 3$

$a^n(b-c)+b^n(c-a)+c^n(a-b)=(a-b)(b-c)(a-c)P(a,b,c)$

เมื่อ $P(a,b,c)$ คือ ผลบวกของพหุนามสมมาตรกำลัง $n-2$ ทั้งหมดที่มีสัมประสิทธิ์ในทุกเอกนามเท่ากับ $1$

เช่น $n=5$

หา $P(a,b,c)$ ได้จากการแตก $3$ ออกมาเป็นผลบวกของจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบสามตัว

และเรียงค่าจากมากไปหาน้อยเพื่อความสะดวก ซึ่งมีทั้งหมด $3$ แบบคือ $[3,0,0],[2,1,0],[1,1,1]$

จากนั้นก็สร้างพหุนามสมมาตรตามแต่ละแบบจะได้

$a^3+b^3+c^3$

$a^2b+b^2c+c^2a+ab^2+bc^2+ca^2$

$abc$

ดังนั้น $P(a,b,c)=a^3+b^3+c^3+ab^2+a^2b+bc^2+b^2c+ca^2+c^2a+abc$

จึงได้

$a^5(b-c)+b^5(c-a)+c^5(a-b)=(a-b)(b-c)(a-c)(a^3+b^3+c^3+ab^2+a^2b+bc^2+b^2c+ca^2+c^2a+abc)$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 26 ธันวาคม 2010, 18:14
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

เพิ่มเติม #5

ควรจะมีค่าคงที่ด้วยนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 27 ธันวาคม 2010, 03:28
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
เพิ่มเติม #5

ควรจะมีค่าคงที่ด้วยนะครับ
ค่าคงที่ตรงส่วนไหนครับ ไม่เข้าใจ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 27 ธันวาคม 2010, 06:55
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
เมื่อ $P(a,b,c)$ คือ ผลบวกของพหุนามสมมาตรกำลัง $n-2$ ทั้งหมดที่มีสัมประสิทธิ์ในทุกเอกนามเท่ากับ $1$
ตรงนี้ผมไม่แน่ใจว่ามีสัมประสิทธิ์เป็น 1 แน่นอนหรือเปล่า

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
ดังนั้น $P(a,b,c)=a^3+b^3+c^3+ab^2+a^2b+bc^2+b^2c+ca^2+c^2a+abc$
ควรจะเป็น $P(a,b,c)=k_1(a^3+b^3+c^3)+k_2(ab^2+a^2b+bc^2+b^2c+ca^2+c^2a)+k_3abc$

แล้วค่อยแทนค่าหา $(k_1,k_2,k_3)$ ได้ $(1,1,1)$ ทีหลังน่ะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 27 ธันวาคม 2010, 08:13
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ผมไม่ได้แสดงวิธีพิสูจน์ให้ดูครับ แค่เอาสูตรมาให้ดูและยกตัวอย่างประกอบเพื่อให้เห็นภาพว่า $P(a,b,c)$ หน้าตาเป็นยังไง
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
อยากรู้ยศในmathcenterครับ(เช่น กระบี่ธรรมชาติ กระบี่ไว กระบี่จักรวาล)ครับ กระบี่ไร้คม ฟรีสไตล์ 17 01 กุมภาพันธ์ 2013 02:43
ชาว Mathcenter อยู่รร.อะไรกันบ้างครับ นักสืบอัจฉริยะ ฟรีสไตล์ 77 14 กันยายน 2010 22:03
ฉายาชาวMATHCENTER คusักคณิm ฟรีสไตล์ 1 10 มีนาคม 2010 22:50
http://th.wikipedia.org/wiki/Mathcenter คusักคณิm ฟรีสไตล์ 2 29 สิงหาคม 2009 21:12
http://mathcenter1.com/ คืออะไร!! คusักคณิm ฟรีสไตล์ 2 29 กรกฎาคม 2008 20:40


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 20:15


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha