Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > คณิตศาสตร์อุดมศึกษา
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 27 กุมภาพันธ์ 2006, 10:18
kanji kanji ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 15 พฤศจิกายน 2004
ข้อความ: 151
kanji is on a distinguished road
Post โจทย์ทฤษฎีสมการ

จงแสดงว่ารากของสมการ

$\frac{\alpha}{x-a}+\frac{\beta}{x-b}+\frac{\gamma}{x-c}+1=0$

เป็นรากจริงทั้งหมด เมื่อ $a,b,c$เป็นจำนวนจริงที่แตกต่างกันทั้งหมด

และ$\alpha,\beta,\gamma$เป็นจำนวนจริงบวก
__________________
Mathematics is my mind
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 27 กุมภาพันธ์ 2006, 12:22
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ kanji:
จงแสดงว่ารากของสมการ

$\frac{\alpha}{x-a}+\frac{\beta}{x-b}+\frac{\gamma}{x-c}+1=0$

เป็นรากจริงทั้งหมด เมื่อ $a,b,c$เป็นจำนวนจริงที่แตกต่างกันทั้งหมด

และ$\alpha,\beta,\gamma$เป็นจำนวนจริงบวก
WLOG, assume $a< b < c$.
Let \( \displaystyle{ P(x) = \alpha (x-b)(x-c)+\beta (x-a)(x-c)+\gamma (x-a)(x-b) + (x-a)(x-b)(x-c)}. \ \) Then we have
$P(a) > 0, P(b) < 0, P(c) > 0$. Thus P(x) has at least two real roots by the Intermediate Value Theorem. But P(x) is a polynomial of degree 3 with real coefficients, it must have exactly 3 real roots.
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

27 กุมภาพันธ์ 2006 12:28 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 27 กุมภาพันธ์ 2006, 16:36
kanji kanji ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 15 พฤศจิกายน 2004
ข้อความ: 151
kanji is on a distinguished road
Post

จงแสดงว่าสมการ

$(x-2)(x-5)(x-7)(x-9)+\lambda(x-3)(x-6)(x-8)(x-10)=0$

มีรากทุกรากเป็นรากเชิงเดียวสำหรับทุกค่าจริง $\lambda$ แล้วหาตำแหน่งของรากต่าง ๆ
__________________
Mathematics is my mind

27 กุมภาพันธ์ 2006 16:37 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ kanji
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 09 มีนาคม 2006, 00:15
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ kanji:
จงแสดงว่าสมการ

$(x-2)(x-5)(x-7)(x-9)+\lambda(x-3)(x-6)(x-8)(x-10)=0$

มีรากทุกรากเป็นรากเชิงเดียวสำหรับทุกค่าจริง $\lambda$ แล้วหาตำแหน่งของรากต่าง ๆ

Let $P(x) = (x-2)(x-5)(x-7)(x-9)+\lambda(x-3)(x-6)(x-8)(x-10)$
case 1 : $\lambda = 0$ Clear.
case 2 : $\lambda > 0$. Then we get

$P(2) = 192 \lambda$,
$P(3) = -48$,
$P(5) = -30 \lambda$,
$P(6) = 12$,
$P(7) = 12 \lambda$,
$P(8) = -18$,
$P(9) = -18 \lambda$,
$P(10) = 120$.

Thus P(x) has four simple roots in the open intervals (2,3), (5,6), (7,8), and (9,10).

case 3 : $\lambda < 0$. I cannot solve this case completely but at least I can show that P(x) has four real roots and the positions of the three roots are in the intervals (3,5),(6,7), and (8,9). It seems that the position of the fourth root depends on the value of $\lambda$. For example, if $\lambda = -1$ then we have three simple roots in the intervals (3,5),(6,7), and (8,9).
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 09 มีนาคม 2006, 00:39
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

เอ่อ รากเชิงเดียวนี่หมายถึง เป็นจำนวนจริงเท่านั้นรึเปล่าครับ ไม่เป็น Complex Conjugate

การวิเคราะห์รากของสมการพหุนามในรูปแบบของ \( 1+ KF(s) = 0\) สามารถทำได้โดยวิธีที่เรียกว่า Root Locus Technique (เทคนิคทางเดินโลกัสของราก) เป็นการหาว่า ถ้าเราเปลี่ยนค่า K ไปเรื่อยๆแล้ว ตำแหน่งของคำตอบของสมการจะไปอยู่ที่ใดได้บ้าง จากโจทย์ที่คุณ kanji ยกมา
ให้ \( F(s) = \frac{(s − 3)(s − 6)(s − 8)(s − 10)}{(s − 2)(s − 5)(s − 7)(s − 9)} \)
จะได้ว่า มีทางเดินของราก เมื่อ \( K \geq 0 \) อยุ่ในช่วง (2,3), (5,6), (7,8), and (9,10). จริงๆ อยู่บนเส้นสีๆ ดังรูปข้างล่างคับ กากบาทคือ pole และ กลมๆคือ zero ของ F(s) นะคับ ก็จะเห็นว่าไม่มีทางเดินรากนอกเหนือแกนจริง ก็สรุปว่าเป็น รากเชิงเดียว เมื่อ \( K \geq 0 \)
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!

09 มีนาคม 2006 00:50 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 09 มีนาคม 2006, 00:55
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

ส่วนกรณี \( K < 0 \) จะวาด root locus ได้เป็นแบบรูปข้างล่างครับ ดังนั้นเมื่อ \( K < 0 \) จะมีรากในช่วง นอกเหนือจากกรณี K>0 ดังนั้นสรุปได้ว่า สมการ
\( (x−2)(x−5)(x−7)(x−9)+\lambda (x−3)(x−6)(x−8)(x−10) = 0 \)
มีรากเชิงเดียวสำหรับทุกค่า \( \lambda \) โดย Root locus
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 09 มีนาคม 2006, 02:21
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ nooonuii:
case 3 : $\lambda < 0$. I cannot solve this case completely but at least I can show that P(x) has four real roots and the positions of the three roots are in the intervals (3,5),(6,7), and (8,9). It seems that the position of the fourth root depends on the value of $\lambda$. For example, if $\lambda = -1$ then we have three simple roots in the intervals (3,5),(6,7), and (8,9).
ข้อนี้ผมทำไปนานมากแล้วครับ แต่ไม่ได้มาโพสต์เพราะขี้เกียจ (ตอนคิดน่ะสนุก แต่ตอนพิมพ์คำอธิบายเนี่ยเหนื่อยและค่อนข้างน่าเบื่อ) กระดาษทดก็ทิ้งไปแล้วด้วย เลยต้องโดนคิดใหม่อีกรอบ

คือกรณีที่ $\lambda<0$ เนี่ยผมแยกออกเป็นอีก 3 กรณีย่อยครับ

กรณีที่ 3.1 $\lambda=-1$ สมการจะกลายเป็นสมการกำลังสาม และมีรากอย่างที่คุณ nooonuii บอก

กรณีที่ 3.2 $-1<\lambda<0$ รากอันที่ 4 จะอยู่ในช่วง $(-\infty,2)$ เพราะ $P(2)<0$ และ $$\lim_{x\to-\infty} P(x)=+\infty$$

กรณีที่ 3.3 $-\infty<\lambda<-1$ รากอันที่ 4 จะอยู่ในช่วง $(10,\infty)$ เพราะ $P(10)>0$ และ $$\lim_{x\to\infty} P(x)=-\infty$$

สรุปได้ว่าไม่ว่า $\lambda$ จะมีค่าเท่าไหร่ $P(x)$ ก็จะมีแต่รากจริงที่เป็น simple root ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 09 มีนาคม 2006, 06:31
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

ว้าวเจ๋งครับคุณ Warut
รากเชิงเดียว (simple root) คือรากที่ไม่เป็นรากซ้ำครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 04:31


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha