Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #166  
Old 30 เมษายน 2008, 19:19
Tohn's Avatar
Tohn Tohn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2008
ข้อความ: 58
Tohn is on a distinguished road
Send a message via MSN to Tohn
Default

62. $\arctan(\frac{2k}{2+k^2+k^4})=\arctan(\frac{(n^2+n+1)-(n^2-n+1)}{1+(n^2+n+1)(n^2-n+1)})=\arctan(n^2+n+1)-\arctan(n^2-n+1)$
ดังนั้นsumก็คือ $\arctan(3)-\arctan(1)+\arctan(7)-\arctan(3)+ \cdots +\arctan(n^2+n+1)-\arctan(n^2-n+1) $
= $\arctan(n^2+n+1)-\arctan(1)$
__________________
I'm kak.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #167  
Old 30 เมษายน 2008, 19:22
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ขอต่อจากคุณ Tohn อีกนิดนึงนะครับ
$arctan(n^2+n+1)-arctan(1)=arctan(\frac{n^2+n+1-1}{1+(n^2+n+1)(1)})=arctan(\frac{n^2+n}{n^2+n+2})$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #168  
Old 03 พฤษภาคม 2008, 04:53
Tohn's Avatar
Tohn Tohn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2008
ข้อความ: 58
Tohn is on a distinguished road
Send a message via MSN to Tohn
Default

65.
$$z=\frac{\sqrt{10-2\sqrt{5}}+(\sqrt{5}+1)i}{\sqrt{10+2\sqrt{5}}+(\sqrt{5}-1)i}$$

$$z=\frac{\sqrt{10-2\sqrt{5}}+(\sqrt{5}+1)i}{\sqrt{10+2\sqrt{5}}+(\sqrt{5}-1)i}\cdot\frac{\sqrt{10+2\sqrt{5}}-(\sqrt{5}-1)i}{\sqrt{10+2\sqrt{5}}-(\sqrt{5}-1)i}\cdot\frac{\sqrt{10-2\sqrt{5}}-(\sqrt{5}+1)i}{\sqrt{10-2\sqrt{5}}-(\sqrt{5}+1)i}$$

$$= \frac{\sqrt{10+2\sqrt{5}}-(\sqrt{5}-1)i}{\sqrt{10-2\sqrt{5}}-(\sqrt{5}+1)i}$$

จะได้ว่า $$\bar z = \frac{1}{z}$$ นั่นคือ $${\vert z \vert}^2=1$$
ดังนั้น $$\frac{z^{2551^{2552}}}{z^{2007^{2008}}}=\frac{z^{2552}}{z^{2008}}=1$$
ข้อ63ให้ทำอะไรหรอคับ
__________________
I'm kak.

03 พฤษภาคม 2008 04:57 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Tohn
เหตุผล: latex
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #169  
Old 03 พฤษภาคม 2008, 06:44
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

คิดว่าหาค่า $x_i$ ของแต่ละ $x_i$ นะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #170  
Old 03 พฤษภาคม 2008, 07:24
Tohn's Avatar
Tohn Tohn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2008
ข้อความ: 58
Tohn is on a distinguished road
Send a message via MSN to Tohn
Default

ข้อ 61. เห็นยังไม่มีเฉลยๆขอโพสเลยนะคับ
พิจารณา $\frac{1}{2}\tan\frac{\alpha}{2} = \frac{1-(1-\tan^2\frac{\alpha}{2})}{2\tan\frac{\alpha}{2}}=\frac{1}{2}\cot\frac{\alpha}{2}-\cot\alpha$
เพราะฉะนั้น $$\frac{1}{2}\tan\frac{\alpha}{2}=\frac{1}{2}\cot\frac{\alpha}{2}-\cot\alpha\qquad(1) $$
จาก $(1)$ คูณตลอดด้วย $\frac{1}{2}$และแทน$\alpha$ด้วย$\frac{\alpha}{2}$จะได้$$\frac{1}{4}\tan\frac{\alpha}{4}=\frac{1}{4}\cot\frac{\alpha}{4}-\frac{1}{2}\cot\frac{\alpha}{2}\qquad(2) $$
จาก $(2)$ คูณตลอดด้วย $\frac{1}{2}$และแทน$\alpha$ด้วย$\frac{\alpha}{2}$จะได้$$\frac{1}{8}\tan\frac{\alpha}{8}=\frac{1}{8}\cot\frac{\alpha}{8}-\frac{1}{4}\cot\frac{\alpha}{4}\qquad(3) $$
$$\cdot$$
$$\cdot$$
ในทำนองเดียวกันก็จะได้$$\frac{1}{2^n}\tan\frac{\alpha}{2^n}=\frac{1}{2^n}\cot\frac{\alpha}{2^n}-\frac{1}{2^{n-1}}\cot\frac{\alpha}{2^{n-1}}\qquad(n) $$
นำสมการที่ได้ทั้งหมดมาบวกกันจะได้$$ \frac{1}{2} \tan\frac{\alpha}{2} + \frac{1}{4}\tan \frac{\alpha}{4}+ \cdots+ \frac{1}{2^{n}}\tan\frac{\alpha}{2^{n}}=\frac{1}{2^{n}}\cot \frac{\alpha}{2^{n}}-\cot\alpha $$
นำ $\tan\alpha$ บวกทั้งสองข้าง ได้
$$\tan\alpha+\frac{1}{2}\tan\frac{\alpha}{2}+\frac{1}{4}\tan\frac{\alpha}{4}+\cdots+\frac{1}{2^{n}}\tan\frac{\alpha}{2^n}=\frac{ 1}{2^{n}}\cot\frac{\alpha}{2^{n}}-(\cot\alpha-\tan\alpha)$$
$$=\frac{1}{2^{n}}\cot\frac{\alpha}{2^n}-(\frac{\cos^2\alpha-\sin^2\alpha}{\sin\alpha\cos\alpha})=\frac{1}{2^{n}}\cot\frac{\alpha}{2^n}-2\cot2\alpha$$
__________________
I'm kak.

03 พฤษภาคม 2008 07:26 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Tohn
เหตุผล: ภาษา
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #171  
Old 03 พฤษภาคม 2008, 17:44
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ข้อ 65 อีกวิธีนึงครับ

03 พฤษภาคม 2008 17:46 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #172  
Old 07 พฤษภาคม 2008, 21:53
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

เห็นกระทู้มันเงียบๆ บวกกับยังทำข้อ 63 ไม่ได้ ก็เลยฝากโจทย์ที่(คิดว่า)ไม่ยากมาเพิ่มครับ
66.หาคู่อันดับ $(x,y)$ ทั้งหมดที่ทำให้ $|sinx+cosx|=\sqrt{2}(y^2+2y+2)$
67.ถ้า $A,B,C$ เป็นมุมทั้งสามของสามเหลี่ยม จงพิสูจน์ว่า $tan^2\frac{A}{2}+tan^2\frac{B}{2}+tan^2\frac{C}{2}\geq 1$
68.ให้ $A\in (0,\pi )$ และ $B\in (0,\pi )$ และ $cosAcosBcos(A+B)=-\frac{1}{8} จงหา\frac{A}{B}$
69.ให้ $2sinxcosy=cos^{2}x-cos^{2}y$ และ $2cosxsiny=1.5$ โดยที่ $0\leqslant x\leqslant \pi$
และ $0\leqslant y\leqslant \pi$ จงหาค่าของ $x-y$
70.จงหาคู่อันดับ $(x,y)$ ที่สอดคล้องกับระบบสมการ $cosx-cosy=sin(x+y)\cdots \cdots (1)$
และ $\left| x \right| + \left| y \right|=\frac{\pi }{4}\cdots \cdots (2)$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #173  
Old 08 พฤษภาคม 2008, 11:17
mathematiiez's Avatar
mathematiiez mathematiiez ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤษภาคม 2008
ข้อความ: 657
mathematiiez is on a distinguished road
Send a message via MSN to mathematiiez
Default

>,<
ของม.ไหนหรอคะเนี่ย

U__________U
__________________
ยิ้มเท่านั้นที่ครองโลก
5555
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #174  
Old 09 พฤษภาคม 2008, 20:42
Tohn's Avatar
Tohn Tohn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2008
ข้อความ: 58
Tohn is on a distinguished road
Send a message via MSN to Tohn
Default

67.$(\tan\frac{A}{2}-\tan\frac{B}{2})^2+(\tan\frac{B}{2}-\tan\frac{C}{2})^2+(\tan\frac{C}{2}-\tan\frac{A}{2})^2 \geq 0 $
$\tan^2\frac{A}{2}+\tan^2\frac{B}{2}+\tan^2\frac{C}{2} \geq \tan\frac{A}{2}\tan\frac{B}{2}+\tan\frac{B}{2}\tan\frac{C}{2}+\tan\frac{C}{2}\tan\frac{A}{2}$
และจาก $\frac{A}{2}+\frac{B}{2}+\frac{C}{2}=\frac{\pi}{2}$
ดังนั้น$\tan(\frac{A}{2}+\frac{B}{2})=\tan(\frac{\pi}{2}-\frac{C}{2})$
$\frac{\tan\frac{A}{2}+\tan\frac{B}{2}}{1-\tan\frac{A}{2}\tan\frac{B}{2}}=\frac{1}{\tan\frac{C}{2}}$
$\tan\frac{A}{2}\tan\frac{B}{2}+\tan\frac{B}{2}\tan\frac{C}{2}+\tan\frac{C}{2}\tan\frac{A}{2}=1$
เพราะฉะนั้น $\tan^2\frac{A}{2}+\tan^2\frac{B}{2}+\tan^2\frac{C}{2} \geq 1$
--------------------------------------------------------------------
ข้อ 66กับ69 ใช่ตอบอย่างงี้มั้ยคับ ไม่อยากพิมพ์เยอะๆแล้วลบ อิๆ
66.$({180^\circ}n+{45^\circ},-1)$
69.$270^\circ$
__________________
I'm kak.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #175  
Old 09 พฤษภาคม 2008, 21:23
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ข้อ 66 ถูกครับ แต่ข้อ 69 นี่... ยังไม่ถูกครับ
(แล้วคราวหน้าคิดว่าตอบเป็นแบบ radian จะดีกว่าครับ)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #176  
Old 09 พฤษภาคม 2008, 22:35
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

อ้างอิง:
ข้อ 60 x = y
แต่ $x\not=y$ นะครับ
__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #177  
Old 09 พฤษภาคม 2008, 23:05
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ทำไม $x\not =y$ ครับ?
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #178  
Old 09 พฤษภาคม 2008, 23:40
Tohn's Avatar
Tohn Tohn ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มกราคม 2008
ข้อความ: 58
Tohn is on a distinguished road
Send a message via MSN to Tohn
Default

เอาวิธีทำมาแปะอีก2ข้อคร้าบ
66. จัดรูปใหม่จะได้
$\vert \frac{1}{\sqrt{2}}\sin x+\frac{1}{\sqrt{2}}\cos x \vert -1=(y+1)^2 $
$\vert \sin(x+\frac{\pi}{4}) \vert -1 = (y+1)^2$
$\vert \sin(x+\frac{\pi}{4}) \vert \geq 1$
$\because -1\leq \sin\theta \geq 1$
จะได้ $\sin(x+\frac{\pi}{4})=1,-1$
$(n\pi+\frac{\pi}{4},-1)$
-------------------------------------
68.
$2\cos A\cos B\cos(A+B)=-\frac{1}{4}$
$$4\cos^2(A+B)+4\cos(A-B)\cos(A+B)+1=0$$
เนื่องจาก $\cos(A+B)$เป็นจำนวนจริง ดังนั้น discriminant เท่ากับ 0
จาก $0<A<\pi$ , $0<B<\pi$ จะได้ A-B=0
เพราะฉะนั้น $\frac{A}{B}=1$
__________________
I'm kak.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #179  
Old 10 พฤษภาคม 2008, 15:16
Brownian's Avatar
Brownian Brownian ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 16 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 98
Brownian is on a distinguished road
Send a message via MSN to Brownian
Default

__________________
"จงรักตัวเองด้วยการช่วยเหลือผู้อื่น และรักผู้อื่นด้วยการพัฒนาตัวเอง"
<< i'm lovin' it>>
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #180  
Old 10 พฤษภาคม 2008, 19:25
owlpenguin's Avatar
owlpenguin owlpenguin ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 มีนาคม 2008
ข้อความ: 386
owlpenguin is on a distinguished road
Default

ุคุณ brownian ช่วยเฉลยข้อ 63 กับข้อ 70 ด้วยจะได้ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Geometry marathon Char Aznable เรขาคณิต 78 26 กุมภาพันธ์ 2018 21:56
Algebra Marathon nooonuii พีชคณิต 199 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08
Calculus Marathon (2) nongtum Calculus and Analysis 134 03 ตุลาคม 2013 16:32
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
Calculus Marathon nooonuii Calculus and Analysis 222 26 เมษายน 2008 03:52


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 02:10


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha