Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > ข้อสอบโอลิมปิก
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 02 กรกฎาคม 2005, 18:32
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

__________________
PaTa PatA pAtA Pon!

02 กรกฎาคม 2005 18:45 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 02 กรกฎาคม 2005, 19:19
Shadowmage Shadowmage ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กรกฎาคม 2005
ข้อความ: 1
Shadowmage is on a distinguished road
Post

สอบโอลิมปิกพวกนี้ต้องได้กี่คะแนนอย่างน้อยถึงติดรอบแรกหรอคับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 02 กรกฎาคม 2005, 19:19
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

ข้อ 8 ตอนที่ 2 อันนี้ไม่แน่ใจว่าทำไมตอบได้สองอย่างหรือผมทำผิด ช่วยยืนยันความถูกต้องด้วยครับ
จากโจทย์จะได้ว่า \( p(-2) = 0 , p(-1)=1 \)
ให้ \( p(x) = x^3 +mx^2 +nx +p \)
เนื่องจาก \( p(-2) = -8 +4m-2n +p \) สามเทอมแรกเป็นเลขคู่ ซึ่งจะได้ว่า p ควรเป็น 2 หรือ -2 เท่านั้น

กรณี p=2 ใช้เงื่อนไขทั้งสองจะได้ว่า \( m=3,n=3,p=2 \)
ซึ่งจะได้ว่า \( m^2+n^2+p^2 = 22 \)
และ เศษที่ต้องการ \( p(-5)= -63 \)

กรณี p=-2 ใช้เงื่อนไขทั้งสองจะได้ว่า \( m=1,n=-3,p=-2 \)
ซึ่งจะได้ว่า \( m^2+n^2+p^2 = 14\)
และ เศษที่ต้องการ \( p(-5)=-87\)
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!

03 กรกฎาคม 2005 09:35 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 02 กรกฎาคม 2005, 19:35
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

ข้อ 9 ตอนที่ 1 ผมคิดได้ช้อย (3) ไม่ตรงกับน้อง Tummy อ่า ขอผุ้ยืนยันด้วยคับ
ข้อ 15 ตอนที่ 2 ได้ 3 ตารางหน่วย คร้าบ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!

02 กรกฎาคม 2005 19:53 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 02 กรกฎาคม 2005, 20:03
Alberta Alberta ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 มกราคม 2005
ข้อความ: 90
Alberta is on a distinguished road
Post

ขอข้อ4ตอน2ละกันครับ(ผมทำไออื่นไม่เป็น )
จากรูปนะครับ เราให้ด้านยาวดังภาพ(โดยใช่สมาเหลี่ยมคล้ายแบบง่ายๆ)
จากทฤษฎีบทปีทาโกรัส (รูปสามเหลี่ยมที่ระบายสีฟ้า 2 รูปครับ)
จะได้\( X^2 \) +\((2Y^2) \) = \( BP^2 \)
และ \( Y^2 \) +\((2X^2) \) = \( BQ^2 \)
เอามารวมกันเป็น
\( BP^2 \) + \( BQ^2 \) =\( Y^2 \) +\((2X^2) \)+ \( Y^2 \) +\((2X^2) \)= \( 5X^2 \)+\( 5Y^2 \) = 5
ดังนั้น \(X^2 \)+\( Y^2 \) = 1
จะหาด้าน AC
จากทฤษฎีบทปีทาโกรัสของรูปสามเหลี่ยมABC
จะได้ \( AC^2 \) = \(AB^2 \)+\(BC^2 \)
ดังน้น AC = (\(( 3X)^ 2\)+\( (3Y)^2\))= (\( 9X^ 2\)+\( 9Y^2\))
3\( X^ 2\)+\( Y^2 \) = 3*1 = 3
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 02 กรกฎาคม 2005, 20:26
R-Tummykung de Lamar R-Tummykung de Lamar ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2004
ข้อความ: 566
R-Tummykung de Lamar is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ M@gpie:
ข้อ 9 ตอนที่ 1 ผมคิดได้ช้อย (3) ไม่ตรงกับน้อง Tummy อ่า ขอผุ้ยืนยันด้วยคับ
ข้อ 15 ตอนที่ 2 ได้ 3 ตารางหน่วย คร้าบ

อันนี้ ไม่ต้องเช็คกับผมมากก็ได้ครับ ผมเอาแน่ไม่ได้ บางข้อผมไม่ได้คิดเลย บางข้อเดา หรือบางข้อคิดได้แล้วสะเพร่าครับผม
__________________
[[:://R-Tummykung de Lamar\\::]] ||
(a,b,c > 0,a+b+c=3)
$$\sqrt a+\sqrt b+\sqrt c\geq ab+ac+bc$$

02 กรกฎาคม 2005 20:29 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ R-Tummykung de Lamar
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 02 กรกฎาคม 2005, 21:53
esdgr esdgr ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 5
esdgr is on a distinguished road
Post

อยากได้ข้อสอบแบบสะอาดๆ โล่งๆป่าวครับ แบบไร้รอยขีดข่วน
เดี๋ยวผมสแกนของผมให้
ผมทำมะด้ายเรยยยยยย 555+
แบบผมว่ายากกว่าปีก่อนๆเยอะมากอะ แล้วคุณ Tum นี่อยู่โรงเรียนไรเหรอ เก่งจัง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 02 กรกฎาคม 2005, 22:09
R-Tummykung de Lamar R-Tummykung de Lamar ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2004
ข้อความ: 566
R-Tummykung de Lamar is on a distinguished road
Post

แหม มีคนเรียกผมหลายแบบจังนะครับ ทั้ง Tum , Tummy , Tummykung , R-Tummykung de Lamar

สงสัยชื่อจะยาวไปซะแล้ว
ใครจะเรียกยังไงก็ได้ครับ เพราะมันเกิดจากการแปลง Tum \(\displaystyle{\to} \)Tummy\(\displaystyle{\to} \)Tummykung\(\displaystyle{\to} \)R-Tummykung de Lamarจริงๆครับ ดังนั้นจะเรียกลำดับขั้นไหนก็ได้ครับ
__________________
[[:://R-Tummykung de Lamar\\::]] ||
(a,b,c > 0,a+b+c=3)
$$\sqrt a+\sqrt b+\sqrt c\geq ab+ac+bc$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 03 กรกฎาคม 2005, 06:35
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Post

ข้อสอบปีนี้กินแรงคนคิดดีชะมัด เอาเท่าที่คิดออกตอนนี้ก่อนละกัน
1.3. ตอบข้อ 1.
จากโจทย์ จะได้รัศมีของวงกลม(=ความยาวด้านสามเหลี่ยมด้านเท่า)เป็น \(2r\cos30°=\sqrt{3}r\) และพื้นที่แรเงาเป็น \(3[\frac{1}{6}\pi(3r^2)-\frac{\sqrt{3}}{4}(3r^2)]=\frac{3}{2}r^2(\pi-\frac{3\sqrt{3}}{2}) \)

1.4. ตอบข้อ 2.
มุม SPR=RQS=22+32=54 ดังนั้นมุม QPS=90-54=36°

1.8 ตอบข้อ 3
PQ ต้องเป็นเส้นผ่านศูนย์กลางเพราะยาว 2a, \(QS=\frac{1}{2}PR=2\sqrt{2},\ QT=\sqrt{a^2-8},\ ST=a-2\sqrt{2}\)
ดังนั้นพื้นที่สามเหลี่ยม QST จึงเป็น \(\frac{1}{2}\sqrt{a^2-8}\cdot(a-2\sqrt{2})=\hbox{choice 3.}\)

2.7 ให้มุม BCF=DCE=DAF=x จากข้อมูลในโจทย์จะได้ 44+x+30+x=180 (สี่เหลี่ยมแนบใน) ดังนั้น x=53°

2.9 เราได้ว่า \(0<x^2-6x+7\le1\) หรือ \(x\in[3-\sqrt{3},3-\sqrt{2})\bigcup(3-\sqrt{2},3-\sqrt{3}]\)

2.15 จากโจทย์จะได้สมการพาราโบลาเป็น \(y^2=-4x\) มีจุดโฟกัสอยู่ที่ F(-1,0)
สมการเส้นตรงที่ผ่าน A(-1,2) และ O และตั้งฉากกับเส้นตรง 3x+y+1=0 คือ 3y=x+5 ซึ่งจะได้จุดศูนย์กลาง O(2,3) (note: 10=32+12)
และพื้นที่ของสามเหลี่ยมเป็น \(0.5(5\cdot3-9)=3\) ตารางหน่วย

2.17 จากโจทย์จะได้ log sum เป็น 3n(n+1)=1950 หรือ n=25, \(n(A_k)=11^k\)
ดังนั้นผลรวมที่ต้องการจึงเป็น \(11+11^2+\cdots+11^{25}=\frac{11}{10}(11^{25}-1)\)

ขอหลบไปคิดข้ออื่นเพิ่มก่อนนะครับ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #25  
Old 03 กรกฎาคม 2005, 07:07
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

เห็นด้วยกับคุณ nongtum ครับ ข้อสอบรอบแรกปีนี้ เป็นลักษณะ time-consuming ยังไงชอบกล แล้วก็เห็นคำถาม inequality และ functional equation น้อยมากๆ แต่มีเรื่องเวกเตอร์ แถมมาด้วย

ตอนนี้ คิดแบบ ยังไม่ได้ตรวจทานอะไรมากมาย ได้คำตอบข้อที่เหลือเป็นดังนี้ครับ

ตอนที่ 1
6. (ตอบข้อ 3) (Credit: Thanks คุณ nongtum)
7. 2
9. 2
10. 4

ตอนที่ 2
1. 22k-2k+1
2. \(\large {1,e^{\frac{1}{2}},e^{\frac{-1}{6}},e^{\frac{2}{3}}} \)
3. 9
6. (-4,-1][-1/2,0]
8. -41 (p=2 และ คำตอบเกิดจาก 22 + (-63))
9. [3-3,3-2)(3+2,3+3]
11. 14
12. -4/9
13. \(\large \frac{\sqrt{2}tan\frac{\pi}{16}}{1+tan^{2}\frac{\pi}{16}} \)
14. \( \large AC\times cos67.5^{\circ} =AC\times\sqrt{\frac{\sqrt{2}-1}{2\sqrt{2}}}\)
16. \( \large \frac{17}{8}\vec{i} -\frac{17}{2}\vec{j} \)
18. 10125
19. \( \large \frac{(x-1)^{2}}{27}+ \frac{(y-1)^{2}}{18}=1\)
20. 14
21. \( \large \frac{\sqrt{4-\pi}}{4}\)
22. {-2}
23. 1/(10032005)
24. \(\large (-\sqrt{\frac{35}{18}},\sqrt{\frac{35}{18}}) \)
25.\(\large y=2\pi-arccos(\sqrt{1+\frac{ln(sinx)}{2sinx}}) \)

ข้อ 10 ให้ผู้ที่ถนัด number theory กว่าผม มาตอบดีกว่า (อยากรู้ว่า max กับ min เท่ากันหรือเปล่า)
หลังจากนี้ ก็ช่วยตรวจทานคำตอบเหล่านี้ด้วยนะครับ เผื่อมึนๆเบลอๆ

และก็ขอจบด้วยคำอธิบาย หนึ่งในข้อที่ผมชอบที่สุด
ข้อ 11 (ตอนที่ 2)
เนื่องจาก 9xy= abcde = 1000x+y
ดังนั้น จัดรูปใหม่เป็น \[ \large x=\frac{y}{9y-1000} \]
จะเห็นได้ว่า y9y-1000 และ 9y-1000>0
ดังนั้น 112y125 ( y เป็นจำนวนนับ 3 หลัก)
และทำให้ 89y-1000125

ดังนั้น 112/125 <10x15
แทนค่า x= 10,11,..,15 มีเพียง x= 14 เท่านั้นที่สอดคล้อง โดยได้ y=112
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ x,y คือ 14

ข้ออื่นๆ เดี๋ยว ว่างๆจะมาพิมพ์วิธีทำให้เน้อ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว

05 กรกฎาคม 2005 05:13 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 9 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ passer-by
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #26  
Old 03 กรกฎาคม 2005, 09:56
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Post

ระบายเฉลยรอบที่สองครับ
2.10 \((n^2+100,(n+1)^2+100)=(n^2+100,2n+1)=^{*}((2n+1)^2+399-4n,2n+1)=(401,2n+1) \)
(* เป็นไปได้ เพราะ (2k,เลขคี่)=1) เนื่องจาก 401 เป็นจำนวนเฉพาะ ดังนั้นห.ร.ม.เป็นไปได้สองค่าคือ 1 และ 401 ดังนั้นคำตอบคือ 400

2.20 จากเงื่อนไข 1) จะได้ตัวเศษเป็นศูนย์ก็ต่อเมื่อ a=1 หรือ -1 แทนค่า a ในเงื่อนไข 2) จะได้ว่า
\(|1-b|\le4\Rightarrow-3\le{}b\le5\) หรือ \(|-1-b|\le4\Rightarrow-5\le{}b\le3\)
ในเงื่อนไขแรก มีกรณีที่ตัวส่วนเป็นศูนย์ เมื่อ b=2,-2 ดังนั้น มีคู่อันดับที่ต้องการทั้งหมด \(9\cdot2-2\cdot2=14 \) คู่อันดับ

2.21 จากเงื่อนไขโจทย์จะได้ \(f^2(x)=4\sin^4(\cos^2(2x))=1\) หรือ \(\sin(\cos^2(2x))=\frac{1}{\sqrt{2}}\) หรือ \(\cos^2(2x)=1-\sin^2(2x)=1-4\sin^2x\cos^2x=\frac{\pi}{4}\) อันหมายถึง \(\sin{x}\cos{x}=\frac{1}{2}\sqrt{1-\frac{\pi}{4}}\)

2.24 ย้ายข้างแล้วจัดรูปจะได้ \((\frac{35}{3}-6x^2)\bar{v}=\frac{148}{3}\bar{u} \) ให้ \(\bar{u}=k\bar{v},\ k>0\) จะได้ \((\frac{35}{3}-6x^2)=\frac{148}{3}k\) หรือ \(x^2=\frac{35-148k}{18}\ge0\Leftrightarrow x\in(-\sqrt{\frac{35}{18}},\sqrt{\frac{35}{18}})\)

2.25 take ln ทั้งสองข้างแล้วคูณตลอดด้วย cos(y)0 จัดรูปใหม่โดยอาศัยเอกลักษณ์ sin(x+y)+sin(x-y)=2sin(x)cos(y) แล้วจัดรูปต่อจะได้ \(\cos{y}=\sqrt{\frac{\ln(\sin{x})}{2\sin{x}}+1}\) เพราะ y อยู่ในจตุภาคที่ 4 จะได้ว่า \(y=2\pi-\arccos\sqrt{\frac{\ln(\sin{x})}{2\sin{x}}+1}\)

เฉลยงวดนี้ค่อนข้างสั้น หากไม่เข้าใจตรงไหนถามได้เช่นเคยครับ (หลบไปนอน )
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.

03 กรกฎาคม 2005 21:29 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #27  
Old 03 กรกฎาคม 2005, 12:11
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ passer-by:
ตอนที่ 2
13. \(\large \frac{\sqrt{2}tan^{2}\frac{\pi}{16}}{1+tan^{2}\frac{\pi}{16}} \)
ผมยังไม่ได้ลองทำข้อนี้นะครับ แค่จะมาบอกว่าถ้าคำตอบเป็นอันนี้จริง เราจะสามารถ simplify ได้อีกหน่อยดังนี้\[\frac{\sqrt2\tan^2\frac{\pi}{16}}{1+\tan^2\frac{\pi}{16}}=
\sqrt2\sin^2\frac{\pi}{16}\]ป.ล. ขอชมว่าคุณ passer-by และคุณ nongtum ทำได้เร็วสุดยอดจริงๆ ทำให้ดูเหมือนกับว่าโจทย์คัดตัวโอลิมปิกเป็นของหมูๆไปเลย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #28  
Old 03 กรกฎาคม 2005, 12:54
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ nongtum:
ระบายเฉลยรอบที่สองครับ
2.25 take ln ทั้งสองข้างแล้วคูณตลอดด้วย cos(y)0 จัดรูปใหม่โดยอาศัยเอกลักษณ์ sin(x+y)+sin(x-y)=2sin(x)cos(y) แล้วจัดรูปต่อจะได้ \(\cos{y}=\sqrt{\frac{\ln(\sin{x})}{2\sin{x}}+1}\) เพราะ y อยู่ในจตุภาคที่ 4 จะได้ว่า \(y=2\pi-\arccos\sqrt{\frac{\ln(\sin{x})}{2\sin{x}}+1}\)
เช่นเคยครับ...ผมยังไม่ได้ลองทำข้อนี้ แค่จะมาบอกว่าถ้าคำตอบเป็นอันนี้จริง เราจะสามารถ simplify ได้อีกหน่อยดังนี้ครับ\[2\pi-
\cos^{-1}\sqrt{\frac{\ln(\sin x)}{2\sin x}+1}\,=\,2\pi-
\frac{1}{2}\cos^{-1}\left(1+\frac{\ln(\sin x)}{\sin x}\right)\]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #29  
Old 03 กรกฎาคม 2005, 21:16
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

สำหรับข้อ 5 ตอนที่ 2 ขอลบ ออกไปก่อนแล้วกันครับ ยังไม่ sure (ในความคิดผม ข้อนี้ ยากสุดใน paper นี้เลยครับ)

ข้อ 13 คิดถูกแต่ ดันไปพิมพ์ผิด ซะนี่ เลยทำให้คุณ warut simplify เก้อไปเลย ขอประทานอภัยอย่างสูงครับ
ผมกลับไปแก้คำตอบให้แล้วนะครับ แล้วก็คงเป็นรูปแบบที่ simplify ที่สุดแล้ว

ส่วนข้อ 25 ก็ต้อง thanks คุณ nongtum ด้วยครับ คือผมก็คิดได้เท่าคุณ nongtum นั่นแหละครับ แต่ พิมพ์ผิด

อ้อ ! แล้วก็ข้อ 21 ผมว่าต้องเป็น
\[ \large sinxcosx=\frac{1}{2}\sqrt{1-\frac{\pi}{4}} \] นะครับคุณ nongtum

ต่อด้วยคำอธิบาย ข้อที่ผมชอบ
7. (ตอนที่ 1)
ให้ S คือผลบวกที่ต้องการ ดังนั้น
\[\large \begin {array}{lc} \quad S= \big (\frac{\frac{1}{3}}{2}+ \frac{\frac{7}{9}}{4} +\frac{\frac{37}{27}}{8}+...\big )log_{b}a \\\qquad=\big (\frac{(1+\frac{1}{3})-1}{2}+ \frac{(1+\frac{7}{9})-1}{4} +\frac{(1+\frac{37}{27})-1}{8}+...\big )log_{b}a \\\qquad =\big[ \big(\frac{4}{6}+\frac{16}{36}+\frac{64}{216}+...\big)- \big(\frac{1}{2}+\frac{1}{4}+\frac{1}{8}+...\big)\big]log_{b}a \\\qquad=\big (\sum_{n=1}^\infty(\frac{2}{3})^{n}-\sum_{n=1}^\infty (\frac{1}{2})^{n}\big)log_{b}a\\\qquad= (2-1) log_{b}a\\\qquad =log_{b}a\end{array}\]

12. เนื่องจาก (A-I)B= A16-I และ (A+I)C=A16-I ดังนั้น

\(\huge det(B) =\frac{det(A^{16}-I)}{det(A-I)}, det(C) =\frac{det(A^{16}-I)}{det(A+I)} \)

และทำให้ \(\huge \frac{det(AB)}{det(C)} =\frac{det(A)det(A+I)}{det(A-I)} \) จากนั้นก็คำนวณโดยตรง จะได้คำตอบเป็น -4/9

ว่างๆ จะกลับมาพิมพ์ต่อ ครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #30  
Old 03 กรกฎาคม 2005, 21:45
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ passer-by:
ข้อ 13 คิดถูกแต่ ดันไปพิมพ์ผิด ซะนี่ เลยทำให้คุณ warut simplify เก้อไปเลย ขอประทานอภัยอย่างสูงครับ
ผมกลับไปแก้คำตอบให้แล้วนะครับ แล้วก็คงเป็นรูปแบบที่ simplify ที่สุดแล้ว
ไม่เป็นไรครับ แต่ผมว่าคำตอบใหม่ก็สามารถ simplify ได้อีกดังนี้นะครับ\[\frac{\sqrt2\tan\frac{\pi}{16}}{1+\tan^2\frac{\pi}{16}}=
\frac{1}{\sqrt2}\sin\frac{\pi}{8}\]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 20:30


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha