Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > คณิตศาสตร์อุดมศึกษา
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 26 กันยายน 2008, 08:20
p_epsilon p_epsilon ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2008
ข้อความ: 5
p_epsilon is on a distinguished road
Default อินทิเกรตจาก -inf ถึง inf โดยใช้ Laplace transform ได้มั๊ย

นิยามของ Laplace transform จะเป็นการอินทิเกรตไม่ตรงแบบจาก 0 ถึง \infty ใช่มั๊ยคับ
แล้วอยากรุ้ว่า เราสามารถหาค่าอินทิเกรต จาก -\infty ถึง \infty โดยใช้ laplace transform
ได้มั๊ย อย่างไร
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 26 กันยายน 2008, 09:22
kheerae's Avatar
kheerae kheerae ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 สิงหาคม 2008
ข้อความ: 117
kheerae is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ p_epsilon View Post
นิยามของ Laplace transform จะเป็นการอินทิเกรตไม่ตรงแบบจาก 0 ถึง \infty ใช่มั๊ยคับ
แล้วอยากรุ้ว่า เราสามารถหาค่าอินทิเกรต จาก -\infty ถึง \infty โดยใช้ laplace transform
ได้มั๊ย อย่างไร
ไม่ได้ครับ เพราะในการหาลาปลาซนั้นมันเป็นการ Transform จาก Time Domain ไปเป็น S Domain ซึ่งจะนิยามจาก $\int_{0}^{\infty}f(t)e^{-st}\,dt $

แต่ที่คุณถามเป็นการหาอินทิเกรตธรรมดานะครับ แค่อินทิเกรตจาก $-\infty$ ถึง $\infty$ หรือ $\int_{-\infty }^{\infty}f(t)\,dt$
__________________
"ไม่มีอะไรดีไปกว่าการที่ได้ตื่นขึ้นมาอีกวัน" ผมเชื่อในปาฏิหารย์แต่ผมไม่เชื่อว่าปาฏิหารย์จะเกิดขึ้นถ้าผมไม่ทำ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 26 กันยายน 2008, 10:37
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ p_epsilon View Post
นิยามของ Laplace transform จะเป็นการอินทิเกรตไม่ตรงแบบจาก 0 ถึง \infty ใช่มั๊ยคับ
แล้วอยากรุ้ว่า เราสามารถหาค่าอินทิเกรต จาก -\infty ถึง \infty โดยใช้ laplace transform
ได้มั๊ย อย่างไร
ถ้าหมายถึงแบบนี้ $$F(s)=\int_{-\infty}^{\infty}f(t)e^{-st}dt$$

ทำได้ครับ แต่ชื่อมันจะเปลี่ยนเป็น Bilateral Laplace transform
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 26 กันยายน 2008, 21:12
p_epsilon p_epsilon ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2008
ข้อความ: 5
p_epsilon is on a distinguished road
Default

อินทิเกรตแบบนั้นเลยครับ
มันหาได้เหมือนกะ laplace รึเปล่าคับ
แบบว่าแยกเป็น จาก -infinity ถึง 0 บวกกับ 0 ถึง infinity
แล้วก็จัดการโดยใช้สูตร Laplace transform แบบนั้นได้มั๊ยคับ

คือว่าเรียน quantum อ่ะคับ แล้วมันจะมีการ normalize ไอ้เจ้า wave function พวกนั้น
โดยการอินทิเกรตจาก -infinity ถึง infinity
แล้วอาจารย์ก็ให้จำสูตรการอินทิเกรตเอาเลย
ไม่บอกวิธีอินทิเกรต เลย
ก็เลยอยากจารู้ว่าเค้าอินทิเกรตกันยังงัย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 27 กันยายน 2008, 12:08
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ถ้าฟังก์ชันไม่มีปัญหาอะไรก็ทำได้ครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 01 ตุลาคม 2008, 23:36
p_epsilon p_epsilon ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2008
ข้อความ: 5
p_epsilon is on a distinguished road
Default

พี่ nooonuii คับ แล้วสูตรของ Bilateral Laplace transform เหมือนกับสูตรๆ
ทั่วๆ ไปของ Laplace transform เลยรึป่าวคับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 02 ตุลาคม 2008, 12:30
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ p_epsilon View Post
พี่ nooonuii คับ แล้วสูตรของ Bilateral Laplace transform เหมือนกับสูตรๆ
ทั่วๆ ไปของ Laplace transform เลยรึป่าวคับ
สูตรผมจำไม่ได้แล้วครับ ไม่ได้ใช้มานานมากแล้ว

แต่คุณสมบัติพื้นฐานยังคงเหมือนกัน

เำพราะ unilateral laplace transform

เป็นกรณีเฉพาะของ bilateral laplace transform

ส่วน bilateral laplace transform

ก็เป็นกรณีเฉพาะของ Fourier transform อีกทีนึง
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 03 ตุลาคม 2008, 12:27
p_epsilon p_epsilon ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2008
ข้อความ: 5
p_epsilon is on a distinguished road
Default

แสดงว่า bilateral laplace transform เป็นสองเท่าของ unilateral laplace transform
อย่างนั้นเหรอคับ
แต่เงื่อนไขของ unilateral laplace transform (laplace transform ธรรมดา) นั้นค่า t > 0
มันคนละเงื่อนไขกับ bilateral laplace transform ที่จะมีกรณีที่ t < 0 บวกกับ กรณีที่ t>0
ผมว่ามันไม่น่าจะใช้สูตรเดียวกันได้อ่าคับ ลองนั่งพิสูจน์ดูก็ไม่ได้ (t<0)

พี่ nooonii ใจดี มะมีตัวอย่างเลยเหรอคับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
มีคัยรู้จัก Fast Fourier Transform มั่งคับ WiZz ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 6 05 เมษายน 2015 10:24
ถามเกี่ยวกับ Discrete Time Fourier Transform DAKONG คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 4 04 กันยายน 2008 10:11
Fast Fourier Transform quetaro ซอฟต์แวร์คณิตศาสตร์ 1 10 สิงหาคม 2008 18:15
อธิบายเกี่ยวกับเรื่อง Transform and Conquer ให้ฟังทีครับ laoscript Calculus and Analysis 1 15 กันยายน 2007 11:37
Z-Transform M@gpie ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 5 11 ธันวาคม 2004 12:11


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:44


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha