Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #31  
Old 15 มิถุนายน 2011, 13:27
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

Problems - For Fun ชุดที่ 2 ข้อ 5

Name:  2658.png
Views: 337
Size:  25.2 KB

ไม่รู้วิธีชั้นสูงเขาทำอย่างไร แต่ระดับ ประถม ก็ทำตรงๆ

จำนวนเต็ม 6 หลักที่หารด้วย 7, 8, 9 ลงตัว ก็ต้องหารด้วย 7x8x9 = 504 ลงตัว


จำนวน 523xxx ที่หารด้วย 504 ลงตัว มี 2 จำนวน

504 x 1038 = 523152

504 x 1039 = 523656

523xxx ที่น้อยที่สุดคือ 523152


ไม่ทราบแบบนี้จะเป็นวิธีทำ ได้หรือเปล่า
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)

15 มิถุนายน 2011 15:06 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ banker
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #32  
Old 15 มิถุนายน 2011, 14:11
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

Problems - For Fun ชุดที่ 2 ข้อ 4

Name:  2659.png
Views: 398
Size:  12.3 KB

$ \because \ \ \ \dfrac{n^3}{3} + \dfrac{n^2}{2} + \dfrac{n}{6} = \dfrac{n(n+1)(2n+1)}{6} = 1^2 +2^2 + 3^2 + ... + n^2$

ทุกจำนวนนับ $n$ ทำให้ $1^2 +2^2 + 3^2 + ... + n^2$ เป็นจำนวนนับ

นั่นคือ ทุกจำนวนนับ $n$ ทำให้ $\dfrac{n^3}{3} + \dfrac{n^2}{2} + \dfrac{n}{6}$ เป็นจำนวนนับ

$n$ มีไม่เกิน 2541 จำนวน ก็มี ไม่เกิน 2541 จำนวนที่ทำให้ $\dfrac{n^3}{3} + \dfrac{n^2}{2} + \dfrac{n}{6}$ เป็นจำนวนนับ

__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)

15 มิถุนายน 2011 14:28 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ banker
เหตุผล: แก้คำผิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #33  
Old 15 มิถุนายน 2011, 16:46
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

โจทย์ปัญหา ชุดที่ 1 ข้อ7

Name:  2660.png
Views: 266
Size:  20.1 KB

ให้ $\dfrac{1}{\sqrt[3]{x} } = a ----> a^3 = \dfrac{1}{x}$

ให้ $\dfrac{1}{\sqrt[3]{y} } = b ----> b^3 = \dfrac{1}{y}$

$(a^3+b^3) = 9 \ \ \ \ \ $ <--มองเห็นตัวเลขแล้ว {a,b} = {1,2}, {2,1}

$(a+b)(1+a)(1+b) = 18 $ <--มองเห็นตัวเลขแล้ว {a,b} = {1,2}, {2,1}


จาก {a,b} = {1,2}, {2,1} ---> {x,y} = {1, $\frac{1}{8}$}{$\frac{1}{8}$, 1} เดี๋ยวหาทางพิสูจน์ต่อ






$(a^3+b^3) = (a+b)(a^2-ab+b^2) = 9 $ ....(1)

$(a+b)(1+a)(1+b) = (a+b)(a+b + ab +1) = 18 $ ...(2)

$\frac{(1)}{(2)} \ \ \ \dfrac{a^2-ab+b^2}{a+b + ab +1} = \dfrac{1}{2}$


$ 2a^2-2ab+2b^2 = a+b + ab +1$

$2a^2-3ab+2b^2-a-b-1 = 0$



แล้วจะไปทางไหนต่อหว่า
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #34  
Old 15 มิถุนายน 2011, 18:20
Scylla_Shadow's Avatar
Scylla_Shadow Scylla_Shadow ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 1,151
Scylla_Shadow is on a distinguished road
Default

ทำตามพี่ banker
จาก$a^3+b^3=9$
และ $(a+b)(1+a+b+ab)=18$ ตรงนี้จะได้ $3(a+b)^2+3(a+b)+3ab(a+b)=54$
;$a^3+b^3+3ab(a+b)+3(a+b)^2+3(a+b)=63$
ให้ $m=a+b$
$m^3+3m^2+3m-63=0$
$(m-3)(m^2+6m+21)=0$ เพราะว่า ม.ต้นเอาแต่จำนวนจริง จะได้ m=3
ได้ a+b=3 เอาไปแทนต่อ จะได้ ab =... ก็จะได้ x,y
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #35  
Old 15 มิถุนายน 2011, 18:20
Influenza_Mathematics's Avatar
Influenza_Mathematics Influenza_Mathematics ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 568
Influenza_Mathematics is on a distinguished road
Default

มาแจมด้วยคนครับ

$(a+b)((a+b)^2-3ab )= 9 , (a+b)(a+b+ab+1) = 18$

ให้ $a+b = x_0 , ab = y_0$

$x_0(x_0^2-3y_0)= 9 , x_0(x_0+y_0+1) = 18$

$x_0^3-3x_0y_0 = 9 , x_0y_0 = \dfrac{x_0^3-9}{3}$

นำมาแทนใน $x_0^2+x_0y_0+x_0 = 18$ ได้ $x_0^2+ \dfrac{x_0^3-9}{3} + x_0 = 18$
$3x_0^2+x_0^3-9+3x_0 = 54$
$x_0^3+3x_0^2+3x_0 - 63 = 0$ จะได้ $x_0=3$ อีก 2 รากเป็นจำนวนเิชิงซ้อน
นำ $x_0=3$ แทนในสมการอะไรก็ได้ ..
จะได้ $y_0 = 2$

แก้สมการได้ $(a,b) = (2,1) , (1,2)$

$(x,y) = (\dfrac{1}{8},1) , (1 , \dfrac{1}{8}) $ ##
__________________
ขว้างมุขเสี่ยว ๆ ใส่กันน่าจะมันแฮะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #36  
Old 15 มิถุนายน 2011, 18:41
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Scylla_Shadow View Post
ทำตามพี่ banker
จาก$a^3+b^3=9$
และ $(a+b)(1+a+b+ab)=18$ ตรงนี้จะได้ $3(a+b)^2+3(a+b)+3ab(a+b)=54$
;$a^3+b^3+3ab(a+b)+3(a+b)^2+3(a+b)=63$
ให้ $m=a+b$
$m^3+3m^2+3m-63=0$
$(m-3)(m^2+6m+21)=0$ เพราะว่า ม.ต้นเอาแต่จำนวนจริง จะได้ m=3
ได้ a+b=3 เอาไปแทนต่อ จะได้ ab =... ก็จะได้ x,y


อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Influenza_Mathematics View Post
มาแจมด้วยคนครับ

$(a+b)((a+b)^2-3ab )= 9 , (a+b)(a+b+ab+1) = 18$

ให้ $a+b = x_0 , ab = y_0$

$x_0(x_0^2-3y_0)= 9 , x_0(x_0+y_0+1) = 18$

$x_0^3-3x_0y_0 = 9 , x_0y_0 = \dfrac{x_0^3-9}{3}$

นำมาแทนใน $x_0^2+x_0y_0+x_0 = 18$ ได้ $x_0^2+ \dfrac{x_0^3-9}{3} + x_0 = 18$
$3x_0^2+x_0^3-9+3x_0 = 54$
$x_0^3+3x_0^2+3x_0 - 63 = 0$ จะได้ $x_0=3$ อีก 2 รากเป็นจำนวนเิชิงซ้อน
นำ $x_0=3$ แทนในสมการอะไรก็ได้ ..
จะได้ $y_0 = 2$

แก้สมการได้ $(a,b) = (2,1) , (1,2)$

$(x,y) = (\dfrac{1}{8},1) , (1 , \dfrac{1}{8}) $ ##

ขอบคุณทั้งสองท่านครับ
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #37  
Old 15 มิถุนายน 2011, 18:41
Influenza_Mathematics's Avatar
Influenza_Mathematics Influenza_Mathematics ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 27 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 568
Influenza_Mathematics is on a distinguished road
Default

PFF ชุด 2 ข้อ 1
$m = 131y + 112$
$m = 132x + 98$

$132x-131y - 14 = 0$

$\dfrac{132x-14}{131} = y$
แต่ $y \in \mathbb{N} $

เราจะได้ $x=14$ และ $y=14$ อันนี้ผมใช้ modulo

$m=1946$ ##
__________________
ขว้างมุขเสี่ยว ๆ ใส่กันน่าจะมันแฮะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #38  
Old 15 มิถุนายน 2011, 18:45
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

Problems - For Fun ชุดที่ 2 ข้อ 1

Attachment 5803



112-98 = 14

132 x 14 = 1848 บวกเศษที่ได้คือ 98 --> 1848 + 98 = 1946

131 x 14 = 1834 บวกเศษที่ได้คือ 112 --> 1834 + 112 = 1946

m = 1946

ไม่รู้จะใช้ได้ทุกกรณีของโจทย์แบบนี้หรือเปล่า
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #39  
Old 15 มิถุนายน 2011, 18:53
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Default

Problems - For Fun ชุดที่ 2 ข้อ 3

เดี๋ยวขอเขียนเหตุผลอธิบายก่อนครับ เพราะไม่รู้จะพูดยังไง

ได้ $n=(2^6)(3^3)$
__________________
no pain no gain
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #40  
Old 15 มิถุนายน 2011, 21:53
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ลุงBankerสุดยอดครับ...ยกนิ้วให้เรื่องความขยันและเทคนิคครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #41  
Old 15 มิถุนายน 2011, 22:09
No.Name No.Name ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 เมษายน 2011
ข้อความ: 323
No.Name is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
ลุงBankerสุดยอดครับ...ยกนิ้วให้เรื่องความขยันและเทคนิคครับ
เห็นด้วยเหมือนกันครับ
__________________
no pain no gain
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #42  
Old 15 มิถุนายน 2011, 22:57
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
ลุงBankerสุดยอดครับ...ยกนิ้วให้เรื่องความขยันและเทคนิคครับ

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ No.Name View Post
เห็นด้วยเหมือนกันครับ

ขอบคุณครับ ได้เวลากินนมนอนแล้วครับ

คืนนี้ต้องปลุกหลานมาดูจันทรุปราคา เสียด้วย
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #43  
Old 16 มิถุนายน 2011, 10:52
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

Name:  2662.jpg
Views: 218
Size:  8.3 KB

ให้ $n = a^?, \ \ a^?b^?, \ \ a^?b^?c^?, ....$

$2n \ $ มีตัวประกอบ 28 ตัว

$2n \ $อาจเป็น $2^{27}, \ \ 2b^{13} \ \ 2ab^6, ... \ \ \ \ \ \color{gray}{(a\not= b\not= 2)}$
แต่ถ้า $a=2^5 \ \ $ จะได้ $ 2n = 2 \cdot 2^5 \cdot b^3 \to n = 2^5b^3$


$3n \ $ มีตัวประกอบ 30 ตัว

ถ้า $n = 2^5b^3 \ $ และ $b = 3 \to 3n =3 \cdot 2^5 \cdot 3^3 \to 3n = 2^53^4$


$6n = 2 \cdot 3 \cdot n \ $
ถ้า $ n= 2^53^3 \to 6n = 2 \cdot 3 \cdot 2^53^3 = 2^6 3^4$

$6n = 2^6 3^4 $ มีตัวปรกอบ $(6+1)(4+1) = 35 \ $ จำนวน
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #44  
Old 16 มิถุนายน 2011, 15:34
lek2554's Avatar
lek2554 lek2554 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 กันยายน 2010
ข้อความ: 1,035
lek2554 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ หยินหยาง View Post
#21

แบบ ตั้งไข่ มาราธอน เข้าใจว่าใครจะคนตอบกระทู้โจทย์ต้องตั้งไข่ไปด้วยจนกว่าจะตอบเสร็จ
ถ้าท่านซือแป๋ จะตอบกระทู้โจทย์ต้องพิมพ์ไว ๆ นะครับ เดี๋ยวจะตอบไม่ทันเสร็จ ไข่ล้มเสียก่อน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #45  
Old 17 มิถุนายน 2011, 10:27
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

Problems - For Fun ชุดที่ 2 เหลือข้อเดียว คือข้อ2
Name:  2663.jpg
Views: 237
Size:  5.4 KB

ตั้งแต่เรียนมา เท่าที่จำความได้ ก็เพิ่งเคยได้ยินคำว่า "จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์"

ต้องไปถามอากู๋ อากู๋บอกว่า จำนวนคู่ใดที่มีตัวประกอบร่วม ตัวนั้นไม่ใช่จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์
จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ ต้องมี ห.ร.ม. เป็น 1 เท่านั้น ห้ามมีเรือพ่วง


ตัวประกอบของ 2541 มี 12 ตัวคือ 1, 3, 7, 11, 21, 33, 77, 121, 231, 363, 847, 2541

จำนวนที่มี 3 เป็นพหุคูณ มี 847 จำนวน

จำนวนที่มี 7 เป็นพหุคูณ มี 363 จำนวน

จำนวนที่มี 11 เป็นพหุคูณ มี 231 จำนวน

รวม 847+363+231 = 1441 จำนวน


จำนวนที่นับซ้ำมี

21 (3x7) เป็นพหุคูณ มี 121 จำนวน

33 (3x11) เป็นพหุคูณ มี 77 จำนวน

77 (7x11) เป็นพหุคูณ มี 33 จำนวน

121 (11x11) เป็นพหุคูณ มี 21 จำนวน


231 (21x11) เป็นพหุคูณ มี 11 จำนวน

363 (3x121) เป็นพหุคูณ มี 7 จำนวน

847 (7x121) เป็นพหุคูณ มี 3 จำนวน

รวมซ้ำ 121+77 +33 +21 - (11+7 +3 ) = 231 จำนวน

จำนวนที่มีพหุคูณร่วม = 1441 - 231 = 1210 จำนวน

จำนวนที่ไม่มีพหุคูณร่วม = 2540 - 1210 = 1330 จำนวน


ดูเหมือนจะสับสนอยู่ เดี๋ยวมาแก้ไขครับ (เช็คแล้ว คำตอบคือ 1320)
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)

17 มิถุนายน 2011 10:29 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ banker
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:22


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha