Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > คณิตศาสตร์อุดมศึกษา
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #136  
Old 17 เมษายน 2015, 17:19
Pitchayut Pitchayut ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2015
ข้อความ: 352
Pitchayut is on a distinguished road
Default

ข้อต่อไปครับ (หลังจากร้างมาเกือบ 7 ปี)

35. จงพิสูจน์ว่า $\displaystyle{\sum_{n = 1}^{\infty}\dfrac{n^3+4n^2+8n+9}{n^4+12n^3+44n^2+48n} }$ หาค่าไม่ได้

17 เมษายน 2015 17:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Pitchayut
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #137  
Old 17 เมษายน 2015, 17:52
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Pitchayut View Post
ข้อต่อไปครับ (หลังจากร้างมาเกือบ 7 ปี)

35. จงพิสูจน์ว่า $\displaystyle{\sum_{n = 1}^{\infty}\dfrac{n^3+4n^2+8n+9}{n^4+12n^3+44n^2+48n} }$ หาค่าไม่ได้
ให้ $a_n=\dfrac{n^3+4n^2+8n+9}{n^4+12n^3+44n^2+48n}$

$b_n=\dfrac{1}{n}$

จะได้ว่า $\displaystyle\lim_{n\to\infty}\dfrac{a_n}{b_n}=1$

ดังนั้น $\displaystyle{\sum_{n = 1}^{\infty}\dfrac{n^3+4n^2+8n+9}{n^4+12n^3+44n^2+48n} }$ ลู่ออก โดย Limit Comparison Test
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #138  
Old 17 เมษายน 2015, 17:56
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

36. จงหาผลบวกของอนุกรม

$\dfrac{1}{3!-2!-1!}+\dfrac{2}{4!-3!-2!}+\dfrac{3}{5!-4!-3!}+\cdots$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #139  
Old 17 เมษายน 2015, 18:39
ความรู้ยังอ่อนด้อย's Avatar
ความรู้ยังอ่อนด้อย ความรู้ยังอ่อนด้อย ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 18 กันยายน 2010
ข้อความ: 175
ความรู้ยังอ่อนด้อย is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
36. จงหาผลบวกของอนุกรม

$\dfrac{1}{3!-2!-1!}+\dfrac{2}{4!-3!-2!}+\dfrac{3}{5!-4!-3!}+\cdots$
$3/4$ รึเปล่าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #140  
Old 17 เมษายน 2015, 18:43
Pitchayut Pitchayut ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2015
ข้อความ: 352
Pitchayut is on a distinguished road
Default

รู้สึก Fail อย่างรุนแรงกับโจทย์ที่ออก เพราะกะจะให้เป็นโจทย์ telescopic แต่นึกไม่ถึงว่า nooonuii จะมีสูตร check ส่วนข้อ 36 ไม่ยาก วิธีทำคร่าวๆ คือ

$\dfrac{n}{(n+2)!-(n+1)!-n!}=\dfrac{n}{n!(n^2+2n)}=\dfrac{1}{(n+2)n!}=\dfrac{n+1}{(n+2)!}=\dfrac{n+2}{(n+2)!}-\dfrac{1}{(n+2)!}=\dfrac{1}{(n+1)!}-\dfrac{1}{(n+2)!}$

ที่เหลือก็ telescopic ง่ายๆ ซึ่งจะได้ว่าอนุกรมที่ต้องการมีค่าเท่ากับ

$\dfrac{1}{2!}-\dfrac{1}{3!}+\dfrac{1}{3!}-\dfrac{1}{4!}+\dfrac{1}{4!}-\dfrac{1}{5!}+...=\dfrac{1}{2}$

18 เมษายน 2015 16:09 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Pitchayut
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #141  
Old 17 เมษายน 2015, 18:51
ความรู้ยังอ่อนด้อย's Avatar
ความรู้ยังอ่อนด้อย ความรู้ยังอ่อนด้อย ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 18 กันยายน 2010
ข้อความ: 175
ความรู้ยังอ่อนด้อย is on a distinguished road
Default

#140 โอ๊ะ ลืมเลย มัวไปใส่ถั่วงอก (แถมผิดอีกนะ 5555)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #142  
Old 18 เมษายน 2015, 16:14
Pitchayut Pitchayut ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2015
ข้อความ: 352
Pitchayut is on a distinguished road
Default

คราวนี้จะไม่ปล่อยให้ nooonuii ใช้สูตรอีกต่อไป

37. จงหาค่าของ $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}\dfrac{12n^2+44n+48}{n^4+12n^3+44n^2+48n}}$ (ปรับมาจากข้อ 35. ให้มันลู่เข้า)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #143  
Old 19 เมษายน 2015, 10:02
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Pitchayut View Post
37. จงหาค่าของ $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}\dfrac{12n^2+44n+48}{n^4+12n^3+44n^2+48n}}$
ให้ $a_n = \dfrac{1}{n}+\dfrac{1}{n+1}+\dfrac{1}{2(n+2)}+\dfrac{1}{2(n+3)}+\dfrac{9}{2(n+4)}+\dfrac{9}{2(n+5)}$

จะได้ว่า $a_n-a_{n+1}=\dfrac{12n^2+44n+48}{n^4+12n^3+44n^2+48n}$

ดังนั้น $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}\dfrac{12n^2+44n+48}{n^4+12n^3+44n^2+48n}}=a_1=\dfrac{413}{120}$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #144  
Old 19 เมษายน 2015, 10:04
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

38. จงหาผลบวกของ $\dfrac{1}{1!}+\dfrac{3}{2!}+\dfrac{5}{3!}+\dfrac{7}{4!}+\cdots$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #145  
Old 19 เมษายน 2015, 10:49
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

$1+e$ ป่าวครับ
__________________
Vouloir c'est pouvoir
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #146  
Old 19 เมษายน 2015, 16:40
Pitchayut Pitchayut ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2015
ข้อความ: 352
Pitchayut is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
38. จงหาผลบวกของ $\dfrac{1}{1!}+\dfrac{3}{2!}+\dfrac{5}{3!}+\dfrac{7}{4!}+\cdots$
ให้ $a_n =\dfrac{2n}{n!}=\dfrac{2}{(n-1)!}$

และ $b_n=\dfrac{1}{n!}$

จะได้ว่า $a_n - b_n=\dfrac{2n-1}{n!}$ ซึ่งก็คือพจน์ที่ $n$ ของอนุกรมที่ต้องการ

แต่ว่า $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}a_n =2\cdot\sum_{n=1}^{\infty}\dfrac{1}{(n-1)!}}=2e$

และ $\displaystyle{\sum_{n=1}^{\infty}b_n =\sum_{n=1}^{\infty}\dfrac{1}{n!}}=e-1$

ดังนั้นอนุกรมที่ต้องการมีค่าเท่ากับ $2e-(e-1)=e+1$ ซึ่งคุณจูกัดเหลียงตอบเอาไว้ถูกครับ ส่วนใครจะได้ตั้งคำถามขอให้เป็นดุลยพินิจของคุณ nooonuii ก็แล้วกันครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #147  
Old 19 เมษายน 2015, 20:28
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ใครก็ได้ครับ เชิญตั้งได้เลย
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #148  
Old 20 เมษายน 2015, 16:10
Beatmania's Avatar
Beatmania Beatmania ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 279
Beatmania is on a distinguished road
Default

ขอลองเล่นลำดับบ้างแล้วกันนะครับ

จงพิจารณาว่าอนุกรมอนันต์ต่อไปนี้ลู่เข้าหรือลู่ออก

$$\sum_{n = 1}^{\infty} [\sqrt[n]{2} -1]$$

ปล. $[x]$ คือวงเล็บเฉยๆครับ ไม่มีอะไรแอบแฝง
__________________
I'm Back

20 เมษายน 2015 18:22 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Beatmania
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #149  
Old 20 เมษายน 2015, 17:00
Pitchayut Pitchayut ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2015
ข้อความ: 352
Pitchayut is on a distinguished road
Default

สัญลักษณ์ $\left[x\,\right]$ นี่คืออะไรครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #150  
Old 21 เมษายน 2015, 14:47
Pitchayut Pitchayut ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 มกราคม 2015
ข้อความ: 352
Pitchayut is on a distinguished road
Default

คิดมือไม่ออก แต่ใช้ wolfram alpha ทำ integral test ให้บวกกับหาลิมิตด้วยมือเอง จะพบว่าลู่ออก โดยจากการให้ wolfram alpha อินทิเกรตให้ จะได้ว่า
$$\int(\sqrt[x]{2}-1) \,dx =x (\sqrt[x]{2}-1) -\log 2 \cdot\rm{Ei} \left(\frac{\log 2}{x}\,\right) +C$$

เมื่อ $\rm{Ei}(x)$ คือ Exponential Integral Function

จากกราฟของ $\rm{Ei} (x)$ เราจะพบว่า $\displaystyle{\lim_{x\to 0}\rm{Ei}(x)=-\infty}$

ดังนั้น $\displaystyle{\lim_{x\to \infty}\left(\log 2 \cdot\rm{Ei} \left(\frac{\log 2}{x}\,\right)\,\right) =\infty}$

นั่นคือพจน์ขวาของอินทิกรัลลู่ออก และจาก $\displaystyle{\lim_{x\to \infty}x (\sqrt[x]{2}-1)=0}$

ดังนั้น $x (\sqrt[x]{2}-1) -\log 2 \cdot\rm{Ei} \left(\frac{\log 2}{x}\,\right)$ เป็นลำดับลู่ออก นั่นคือ $\displaystyle{\sum_{n = 1}^{\infty} [\sqrt[n]{2} -1]}$ ลู่ออกโดย integral test (ผมใช้อาวุธหนักเกินจนแบกไม่ขึ้น )

21 เมษายน 2015 15:11 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Pitchayut
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Alternating series (and Abel's theorem) Punk Calculus and Analysis 3 17 กรกฎาคม 2012 21:05
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
On-Line Encyclopedia of Integer Sequences warut งานหรือข่าวคราวคณิตศาสตร์ทั่วไป 0 28 เมษายน 2007 00:28
ปัญหาชิงรางวัลข้อที่ 22: Infinite Series warut คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 4 02 พฤศจิกายน 2006 05:35
Series intarapaiboon คณิตศาสตร์อุดมศึกษา 3 02 ตุลาคม 2005 10:58


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 12:00


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha