Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 10 กันยายน 2010, 01:43
Stupendous Stupendous ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 มกราคม 2010
ข้อความ: 10
Stupendous is on a distinguished road
Default ข้อสอบทุนคิงปีการศึกษา53 ออกแล้ว รบกวนช่วยกันเฉลยด้วยครับ

รบกวนช่วยกันเฉลยด้วยครับ
รูปภาพที่แนบมาด้วย
           
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 10 กันยายน 2010, 07:51
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

Name:  2263.jpg
Views: 6383
Size:  13.4 KB

ข้อแจกคะแนน

เขียนรูปได้ ก็ตอบแล้วครับ

เมือง A ห่างจากเมือง C 12 กิโลเมตร

(ทำได้ข้อเดียว)

Name:  2264.jpg
Views: 5671
Size:  8.1 KB
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 10 กันยายน 2010, 08:46
poper's Avatar
poper poper ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2010
ข้อความ: 2,643
poper is on a distinguished road
Send a message via MSN to poper
Default

ข้อ 2.2
$$x^5+x^4-x(x+1)=0$$
$x^4(x+1)-x(x+1)=0$
$x(x+1)(x^3-1)=0$
$x(x+1)(x-1)(x^2+x+1)=0$
$x=0,-1,1,\frac{-1\pm\sqrt{3}\ i}{2}$
$$x^5-4x^3-x^2+4=0$$
$x^2(x^3-1)-4(x^3-1)=0$
$(x^3-1)(x^2-4)=0$
$(x-1)(x^2+x+1)(x+2)(x-2)=0$
$x=1,-2,2,\frac{-1\pm\sqrt{3}\ i}{2}$
ดังนั้น $x=1,\frac{-1\pm\sqrt{3}\ i}{2}$
__________________
คณิตศาสตร์ คือ ภาษาสากล
คณิตศาสตร์ คือ ความสวยงาม
คณิตศาสตร์ คือ ความจริง
ติดตามชมคลิปวีดีโอได้ที่http://www.youtube.com/user/poperKM

10 กันยายน 2010 08:47 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ poper
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 10 กันยายน 2010, 09:00
poper's Avatar
poper poper ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2010
ข้อความ: 2,643
poper is on a distinguished road
Send a message via MSN to poper
Default

ข้อ 3.1
$x^2=1+6\log_4y=1+3\log_2y$---------------(1) [y>0]
$y^2=2^xy+2^{2x+1}$
$y^2-2^xy-2^{2x+1}=0$
$(y+2^x)(y-2^{x+1})=0$
แต่ $y>0$ ดังนั้น $y=2^{x+1}$
แทนค่า y ใน (1)
$x^2=1+3x+3$
$x^2-3x-4=0$
$(x+1)(x-4)=0$
$\therefore x=-1,y=1$
$x=4,y=32$
__________________
คณิตศาสตร์ คือ ภาษาสากล
คณิตศาสตร์ คือ ความสวยงาม
คณิตศาสตร์ คือ ความจริง
ติดตามชมคลิปวีดีโอได้ที่http://www.youtube.com/user/poperKM
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 10 กันยายน 2010, 09:18
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

ถูกข้อเดียวน่าเกลียด มาลองแงะอีกข้อ

Name:  2265.jpg
Views: 5419
Size:  7.6 KB

$x^5+x^4-x(x+1) =0 $ .....(1)

$x^5-4x^3-x^2+4 = 0$ .....(2)

(1) + (2) $ \ \ 2x^5 +x^4 - 4x^3 -2x^2 -x +4 = 0$

ลองจับสัมประสิทธิ์บวกกันได้ 0

แสดงว่า (x-1) ต้องเป็นตัวประกอบของ สองสมการนั้น

$ = (x-1)(2x^4+3x^2-x^2-4) = 0$

$ = (x-1)(x^2+x+1)(2x^2+x-4 )= 0$


กรณี
$x-1 = 0 -----> x =1$

กรณี
$x^2+x+1= 0 -----> x = \frac{-1\pm \sqrt{-3} }{2} $

กรณี
$2x^2+x-4 = 0 -----> x = \frac{-1\pm \sqrt{33} }{4} $

$x \ $ มีทั้งหมด 5 จำนวนคือ $1, \ - \frac{1}{4}(\sqrt{33}+1 ), \ \frac{1}{4}(\sqrt{33} -1), \ -\frac{1}{2}(1 + \sqrt{-3} ), \ -\frac{1}{2}(1 - \sqrt{-3} )$

(ยังไม่ได้ตรวจสอบคำตอบ)
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 10 กันยายน 2010, 09:23
poper's Avatar
poper poper ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2010
ข้อความ: 2,643
poper is on a distinguished road
Send a message via MSN to poper
Default

ข้อ 4.2
$1+\log_{\sqrt{2}}2+\log_{\sqrt[3]{2}}2+...+\log_{\sqrt[n]{2}}2=n^2-15$
$1+2+3+...+n=n^2-15$
$\frac{n^2+n}{2}=n^2-15$
$n^2-n-30=0$
$(n-6)(n+5)=0$ และ n>0
$\therefore n=6$
$A=1+2+2^2+...+2^6=2^7-1=127$------------(1)
$B=\sum_{i=o}^{6}[!(i)]=!(0)+!(1)+!(2)+...+!(6)$
$=1+1+(2+1)+(3+2)+(4+3)+(5+4)+(6+5)=37$---------(2)
$\therefore A+B=164$
__________________
คณิตศาสตร์ คือ ภาษาสากล
คณิตศาสตร์ คือ ความสวยงาม
คณิตศาสตร์ คือ ความจริง
ติดตามชมคลิปวีดีโอได้ที่http://www.youtube.com/user/poperKM
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 10 กันยายน 2010, 15:49
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

3.2 มามั่วต่อ
ให้ $2^x = A , A^4 - 2(A^3)-A^2-2A-2 \leqslant 0$
เอาเฉพาะคำตอบที่เป็นจำนวนจริง $(A-1+\sqrt{3}) (A-1-\sqrt{3} \leqslant 0) , x \in [log_21-\sqrt{3} , log_21+\sqrt{3}] $
__________________
Fortune Lady

10 กันยายน 2010 15:49 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Siren-Of-Step
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 10 กันยายน 2010, 16:37
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

3.2 ผมนั่งทำจนมาติดตรงใกล้เคียงกับน้องsiren
$2^{4x}-2^{3x+1}-2^{2x}-2^{x+1}-2 \leqslant 0$
$2^{4x}-1 \leqslant 2^{3x+1}+2^{2x}+2^{x+1}+1$
$(2^{2x}-1)(2^{2x}+1) \leqslant 2^{x+1}(2^{2x}+1)+2^{2x}+1$
$(2^{2x}-1)(2^{2x}+1) \leqslant (2^{x+1}+1)(2^{2x}+1)$
$(2^{2x}-1) \leqslant (2^{x+1}+1)$
$2^{2x}-2.2^x-2 \leqslant 0$
$1-\sqrt{3} \leqslant 2^x \leqslant 1+\sqrt{3} $ อีกค่าใช้ไม่ได้คือ$1-\sqrt{3} $ เพราะเป็นค่าลบ และ$ 2^x >0$
ผมติดคิดได้แค่นี้ไปต่อไม่ได้ เพราะลืมไปว่าตอบเป็นค่าlogแบบน้องsirenก็ได้
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

10 กันยายน 2010 16:57 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 10 กันยายน 2010, 16:49
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

3.4 ผมหาได้แต่จุดตัด ยังหาเงื่อนไขให้$a>0$ยังไม่เจอ
$C_1$ $x^2+y^2+2ax+4ay-3a^2=0$...........(1)
$C_2$ $x^2+y^2-8ax-6ay+7a^2=0$...........(2)
(1)=(2) ; $10ax+10ay-10a^2=0$
$a(x+y-a)=0 \rightarrow a=0$ หรือ $x+y=a$
ถ้า$a=0$ สมการจะยุบลงเหลือแค่$x^2+y^2=0$...ซึ่งไม่ใช่สมการวงกลม
$x+y=a \rightarrow y=a-x$ นำไปแทนในสมการ
$C_1$ $x^2+y^2+2ax+4ay-3a^2=(x+a)^2+(y+2a)^2=8a^2$
$(x+a)^2+(3a-x)^2=8a^2$
$x^2-2ax+a^2=0$
$x=a,y=0$
จากการลองเอาค่า$x,y$ไปแทนอีกสมการ$C_2$ ได้ค่าที่สอดคล้องค่าเดียวคือ $x=a,y=0$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

10 กันยายน 2010 20:48 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 10 กันยายน 2010, 16:51
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

ลืมคิดไป ว่า log ติดลบไม่ได้
__________________
Fortune Lady
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 10 กันยายน 2010, 17:15
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ข้อ 4.1 จาก$f(x)= x^{101}+x^{51}+x+1$....เราหา$f'(x)= 101x^{100}+51x^{50}+1$ แล้วหาค่า$x$ที่ทำให้$f'(x)=0$ จึงจะบอกได้ว่าฟังก์ชั่นนี้มีค่าสูงสุดหรือต่ำสุดสัมพัทธ์
$101x^{100}+51x^{50}+1=0$
ให้$x^{50}=A$
$101A^2+51A+1=0$
$A=\frac{-51\pm\sqrt{51^2-4(101)} }{2} = \frac{-51\pm\sqrt{2197} }{2}$
เห็นชัดๆว่า$\sqrt{2197} < 50$ ดังนั้นค่า$A<0$ และ$A=x^{50}$ ซึ่งถ้า$x$เป็นจำนวนจริงแล้วเมื่อยกกำลังด้วยเลขคู่ ค่าที่ได้ต้องเป็นบวก ดังนั้นจึงไม่มีค่า$x$ที่เป็นจำนวนจริงที่ทำให้$f'(x)= 101x^{100}+51x^{50}+1=0$
จึงสรุปว่า$f(x)= x^{101}+x^{51}+x+1$ ไม่มีค่าสูงสุดหรือต่ำสุดสัมพัทธ์
ไม่รู้ว่าจะให้เหตุผลถูกตามโจทย์ถามหรือเปล่า
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

10 กันยายน 2010 17:15 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 10 กันยายน 2010, 19:59
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ banker View Post
Attachment 3779

ข้อแจกคะแนน

เขียนรูปได้ ก็ตอบแล้วครับ

เมือง A ห่างจากเมือง C 12 กิโลเมตร

(ทำได้ข้อเดียว)

Attachment 3780
ระวังแจกแต้ม 0 นะครับ ไม่ง่ายอย่างที่คิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 10 กันยายน 2010, 20:18
-Math-Sci- -Math-Sci- ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 30 มกราคม 2010
ข้อความ: 724
-Math-Sci- is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ banker View Post
Attachment 3779

ข้อแจกคะแนน

เขียนรูปได้ ก็ตอบแล้วครับ

เมือง A ห่างจากเมือง C 12 กิโลเมตร

(ทำได้ข้อเดียว)

Attachment 3780
จากรูป ไม่ใช่ 15 หรอครับ ลุง banker
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 10 กันยายน 2010, 20:20
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
ข้อ 4.1 จาก$f(x)= x^{101}+x^{51}+x+1$....เราหา$f'(x)= 101x^{100}+51x^{50}+1$ แล้วหาค่า$x$ที่ทำให้$f'(x)=0$ จึงจะบอกได้ว่าฟังก์ชั่นนี้มีค่าสูงสุดหรือต่ำสุดสัมพัทธ์
ไม่จำเป็นครับอาจเป็นจุดเปลี่ยนเว้าก็ได้
$101x^{100}+51x^{50}+1=0$
ให้$x^{50}=A$
$101A^2+51A+1=0$
$A=\frac{-51\pm\sqrt{51^2-4(101)} }{2} = \frac{-51\pm\sqrt{2197} }{2}$
เห็นชัดๆว่า$\sqrt{2197} < 50$ ดังนั้นค่า$A<0$ และ$A=x^{50}$ ซึ่งถ้า$x$เป็นจำนวนจริงแล้วเมื่อยกกำลังด้วยเลขคู่ ค่าที่ได้ต้องเป็นบวก ดังนั้นจึงไม่มีค่า$x$ที่เป็นจำนวนจริงที่ทำให้$f'(x)= 101x^{100}+51x^{50}+1=0$
จึงสรุปว่า$f(x)= x^{101}+x^{51}+x+1$ ไม่มีค่าสูงสุดหรือต่ำสุดสัมพัทธ์
ไม่รู้ว่าจะให้เหตุผลถูกตามโจทย์ถามหรือเปล่า
ไม่น่าจะถูกครับ โจทย์ข้อนี้เพียงใช้ประโยชน์ของอนุพันธ์มาอธิบายว่าสมการที่ให้เป็นฟังก์ชั่นเพิ่ม ก็เพียงพอที่จะบอกว่าฟังก์ชั่นพหุนามนี้ ไม่มีค่าสูงสุดหรือต่ำสุดสัมพัทธ์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 10 กันยายน 2010, 20:23
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ -Math-Sci- View Post
จากรูป ไม่ใช่ 15 หรอครับ ลุง banker
อย่าไป ท่าน สว. เพราะ 15 ก็ไม่ใช่นะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 02:05


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha