Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Calculus and Analysis
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 08 สิงหาคม 2006, 23:07
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Post ...

ข้อนี้ไม่รู้จะเอาไว้กระทู้ไหนครับเอามาให้ลองน่าทำจริงๆครับ
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 09 สิงหาคม 2006, 22:46
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

Hint หน่อยสิครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 10 สิงหาคม 2006, 16:16
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Post

Hint : สิ่งที่หลายๆคน(หรือเฉพาะผมก็ไม่รู้นะครับ)ชอบลืมเติมหลังการอินทิเกรต
ปล.ผมไปกรุงเทพฯอ่ะครับกลับมาวันอังคารถ้าไม่ได้เข้ามาตอบช่วงนี้ขออภัยล่วงหน้าครับ
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 11 สิงหาคม 2006, 19:41
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Post

ข้อที่2เพียงแต่เราเปลี่ยนตัวหลัง ให้อย๋ในฟอร์มของอียกกำลังป เปลี่ยนทั้งข้างในและเลขชี้กำลังก็จะได้ เป็นรูปแบบฟอร์มของอียกกำลังเอ็กครับ ในส่วนวิธีทำผมคงไม่อาจพิมพ์ได้เพราะไม่ค่อยมีเวลาฮะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 11 สิงหาคม 2006, 21:15
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ gnopy:
ข้อที่2เพียงแต่เราเปลี่ยนตัวหลัง ให้อย๋ในฟอร์มของอียกกำลังป เปลี่ยนทั้งข้างในและเลขชี้กำลังก็จะได้ เป็นรูปแบบฟอร์มของอียกกำลังเอ็กครับ ในส่วนวิธีทำผมคงไม่อาจพิมพ์ได้เพราะไม่ค่อยมีเวลาฮะ
งงครับ มันคืออะไร
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 12 สิงหาคม 2006, 09:57
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Post

คุณมาสเตอร์มาดาม ก็คงจะได้คำตอบแล้วนะครับ เพียงเราพยายมเฮ้ยพยายามเปลี่ยนลูกเล่นนิดหน่อยของ eยกกำลังx นิดหน่อยเองแล้วพยายามทำให้อยู่ในรูปของข้างบนก็จะได้คำตอบ ฮ้าๆๆๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 12 สิงหาคม 2006, 17:15
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

ยังไม่ได้คำตอบครับ รบกวนคุณ gnopy บอกหน่อยครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 13 สิงหาคม 2006, 11:14
Coco's Avatar
Coco Coco ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 กรกฎาคม 2005
ข้อความ: 48
Coco is on a distinguished road
Icon21

มางงด้วยคน
__________________
สนใจคณิตศาสตร์ครับ ช่วยชี้แนะด้วยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 15 สิงหาคม 2006, 10:00
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Post

เหอๆ...ความจริงที่ผมใส่Given e^x นั่นจริงๆผมตั้งใจจะให้คิดถึงค่าคงที่ครับ ไม่ได้เกี่ยวกับ e เลยจริงๆ
ค่าคงที่ตัวที่ผมตั้งใจจะให้ใช้ก็คือค่าคงที่แกมม่า >>> http://math2.org/math/constants/gamma.htm
แต่ถ้าใครจะใช้การอินทิเกรตผมก็จะขอบคุณมากเลยครับเพราะผมอยากเห็นว่าทำไงผมทำไม่เป็น
ปล1. ผมไปโรงเรียนก่อนละนะครับพึ่งมาถึงบ้านเดี๋ยวนี้เองอ่ะครับหุๆ
ปล2. รู้สึกว่าภาษาอังกฤษของคุณ gnopy จะไม่ค่อยแข็งแรงนะครับ
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 15 สิงหาคม 2006, 20:51
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ Timestopper_STG:

ปล2. รู้สึกว่าภาษาอังกฤษของคุณ gnopy จะไม่ค่อยแข็งแรงนะครับ
ก็ว่ามันมีข้อเดียวนิหน่า
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 18 สิงหาคม 2006, 18:10
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Icon16


มาแก้ไขให้ละครับคราวนี้เริ่มจากการแสดงว่าลิมิตลู่เข้าก่อนละกันครับ
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$

21 สิงหาคม 2006 10:18 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Timestopper_STG
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 18 สิงหาคม 2006, 22:16
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

อ่า สงสัยตรงที่ เอาลิมิตมาลบกับค่ามาลบกับ \( \ln n \) ในสมการเดียวกัน แล้ว \( n \rightarrow \infty \) หรือว่ามีค่าจำกัดครับ งง ??
อีกอย่างคือ
\[ \mid \frac{1}{n+1} + \frac{1}{n+2} + ... + \frac{1}{2n} \; \; \mid \; \; \geq \mid \frac{1}{2n}+ \frac{1}{2n} + ... + \frac{1}{2n} \mid \; \; \geq \frac{1}{2}\]
เนื่องจากเป็นลำดับที่ไม่มีขอบเขต เป็นการเพียงพอที่จะสรุปว่า \( \lim_{n \rightarrow \infty} ( \frac{1}{n+1} + \frac{1}{n+2} + ... + \frac{1}{2n}) \) ลู่ออก
แต่ในกรณีนี้สรุปได้ว่ามีค่าเป็น \( \ln 2 \) แสดงว่าอนุกรมไม่มีขอบเขตลู่เข้า ???
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 19 สิงหาคม 2006, 15:36
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

EulerGamma ในรูปลิมิต $\ln n$ ต้องอยู่ในขอบเขตของลิมิตด้วยครับ

ส่วนลิมิตตัวอย่างที่ให้มาสามารถทำได้อีกแบบดังนี้

$$\lim_{n\to\infty}\bigg( \frac{1}{n+1}+\frac{1}{n+2}+...+\frac{1}{n+n}\bigg)$$
$$=\lim_{n\to\infty}\frac{1}{n}\bigg( \frac{1}{1+1/n}+\frac{1}{1+2/n}+...+\frac{1}{1+n/n}\bigg)$$
$$=\int_0^1\frac{dx}{1+x}=\ln 2$$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 21 สิงหาคม 2006, 10:20
Timestopper_STG's Avatar
Timestopper_STG Timestopper_STG ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 มกราคม 2006
ข้อความ: 256
Timestopper_STG is on a distinguished road
Send a message via MSN to Timestopper_STG
Icon16

ละก็ตามด้วยการหาค่าของลิมิตครับ
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
BUT
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 21 สิงหาคม 2006, 22:38
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

อืม รู้สึกผมจะสับสนเองครับ ขออภัย พิสูจน์ได้ว่า
เพราะถ้าจะเขียนรูปซิกม่าน่าจะเป็นแบบนี้ \[a_{n,k} = \sum_{k=1}^{n} \frac{1}{n+k} \]
เมื่อเรากระจายมาเลยได้ว่ามันอยู่ในรูป
\[ a_n = \frac{1}{n+1 } + ... + \frac{1}{2n} \text{เป็นลำดับมีขอบเขต} \quad \frac{1}{2} \leq a_n \leq 1 \quad \text{และเป็นลำดับทางเดียว} \]
จึงสรุปได้ว่าลิมิตลู่เข้า จริง
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 01:53


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha