Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > คณิตศาสตร์อุดมศึกษา
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 02 เมษายน 2018, 22:21
sahhh sahhh ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 เมษายน 2018
ข้อความ: 2
sahhh is on a distinguished road
Default สมภาค

รบกวนพิสูจน์หน่อยนะคะ

ให้ a และ b เป็นจำนวเต็ม และ x\geqslant c(b) ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมภาค a^x\equiv x(mod \varphi (b))
แล้ว (a^a)^x\equiv a^x(mod b)

ขอบคุณค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 03 เมษายน 2018, 10:18
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ sahhh View Post
ให้ $a$ และ $b$ เป็นจำนวเต็ม และ $x\geqslant c(b)$ ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมภาค $a^x\equiv x \pmod{\phi(b)}$
แล้ว $(a^a)^x\equiv a^x \pmod{b}$
อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ sahhh View Post
ให้ $a$ และ $b$ เป็นจำนวเต็ม และ $x\geqslant c(b)$ ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมภาค $a^x\equiv x \pmod{\phi(b)}$
แล้ว $a^{a^x}\equiv a^x \pmod{b}$
สองแบบนี้เป็นอันไหนครับ

และ $c(b)$ คืออะไร
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 03 เมษายน 2018, 10:55
sahhh sahhh ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 เมษายน 2018
ข้อความ: 2
sahhh is on a distinguished road
Default

แบบด้านล่างค่ะ
c(b) คือกำลังสูงสุดของ b ซึ่ง b หารด้วยจำนวนเฉพาะลงตัว เมื่อ b เป็นจำนวนที่ไม่สามารถแยกตัวประกอบให้อยู่ในรูปเลขยกกำลังสองได้ค่ะ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 15 เมษายน 2018, 11:21
gon's Avatar
gon gon ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎขั้นสูง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 มีนาคม 2001
ข้อความ: 4,608
gon is on a distinguished road
Default

คล้าย ๆ แนว ๆ นี้หรือเปล่าครับ น่าจะเกี่ยวกัน เคยคิดไว้เล่น ๆ นานแล้ว ไม่รู้ถูกไหม

อ้างอิง:
$a^{b^{c}} \equiv a^i \mod m$ เมื่อ $b^c \equiv i \mod \phi(m) $ โดยที่ $(a, m) = 1$
พิสูจน์

ถ้า $b^c \equiv i \mod \phi(m)$ แล้วจะได้ $b^c = i + t \cdot \phi(m)$

ดังนั้น $a^{b^{c}} = a^{i + t \cdot \phi(m) } = a^i \cdot a^{t \cdot \phi(m)} \equiv a^i \cdot 1^t \mod m \equiv a^ i \mod m$

หมายเหตุ โดยทฤษฎีบทออยเลอร์ $a^{\phi(m)} \equiv 1 \mod m$ เมื่อ $(a, m) = 1$

15 เมษายน 2018 11:25 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 19 เมษายน 2018, 01:48
kongp kongp ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 พฤษภาคม 2006
ข้อความ: 1,127
kongp is on a distinguished road
Default

น่าจะลองพิสูจน์ว่าไม่จริงดูนะครับ Contra- , Anti- , ...etc.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 05:30


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha