Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ทั่วไป > ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 31 ธันวาคม 2008, 19:29
มือสังหารเงา's Avatar
มือสังหารเงา มือสังหารเงา ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กันยายน 2008
ข้อความ: 11
มือสังหารเงา is on a distinguished road
Default to เซียนฟังก์ชันพหุนาม

กำหนดให้ f(x)=$x^3+3x^2$+kx-5 เป็นฟังก์ชันพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์ทุกตัวเป็นจำนวนเต็ม

ถ้าจำนวนเต็มบวก c เป็นรากหนึ่งของฟังก์ชันพหุนาม f(x) แล้วค่ามากที่สุดที่เป็นไปได้ ของ

$\left|k+c\right|$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 31 ธันวาคม 2008, 20:11
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

ไม่ทราบว่าทำอย่างนี้หรือเปล่าครับ
$f(c) = c^3+3c^2+kc-5$
$f'(c) = 3c^2+6c+k$
$0 = 3c^2+6c+3+k-3$
$3-k = 3(c+1)^2$
เพราะว่า $3(c+1)^2\geqslant 0$ ทำให้ $3-k\geq0$ ดังนั้น $k_{max} = 3$ เกิดเมื่อ $c=-1$
$\therefore |k+c| = 2$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 01 มกราคม 2009, 19:55
มือสังหารเงา's Avatar
มือสังหารเงา มือสังหารเงา ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กันยายน 2008
ข้อความ: 11
มือสังหารเงา is on a distinguished road
Default

มีคำตอบให้เลือก

1. 30 2. 34 3. 40 4. 44

คำตอบอยู่ไหน ตัวเลือกทั้ง 4 นี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 01 มกราคม 2009, 20:15
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ มือสังหารเงา View Post
มีคำตอบให้เลือก

1. 30 2. 34 3. 40 4. 44

คำตอบอยู่ไหน ตัวเลือกทั้ง 4 นี้
ก็เลือกข้อ 2. ซิครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 01 มกราคม 2009, 22:17
Puriwatt's Avatar
Puriwatt Puriwatt ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2006
ข้อความ: 1,435
Puriwatt is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ [SIL] View Post
ไม่ทราบว่าทำอย่างนี้หรือเปล่าครับ
$f(c) = c^3+3c^2+kc-5$
$f'(c) = 3c^2+6c+k$
$0 = 3c^2+6c+3+k-3$
$3-k = 3(c+1)^2$
เพราะว่า $3(c+1)^2\geqslant 0$ ทำให้ $3-k\geq0$ ดังนั้น $k_{max} = 3$ เกิดเมื่อ $c=-1$
$\therefore |k+c| = 2$
เนื่องจากสปส. k เป็นจำนวนเต็ม และจำนวนเต็มบวก C เป็นรากหนึ่งของสมการ $f(x) = x^3+3x^2+kx-5$

แสดงว่าที่จุด x = c นั้น f(x) มีค่าเป็น 0 หรือ $f(c) = c^3+3c^2+kc-5 = 0$

จัดรูปสมการได้ $k+c = \dfrac {(5-c^3-2c^2)}{c}$ = $\dfrac {5}{c} - c^2 - 2c$ *และยังเป็นจำนวนเต็มด้วย*

ดังนั้น c = +1 หรือ +5 เท่านั้น จึงจะทำให้ $\dfrac {5}{c}$ เป็นจำนวนเต็ม --> ลองแทนค่าดูก็จะรู้เองว่า |k+c| มีค่าสูงสุดคือ 34 ครับ

02 มกราคม 2009 01:28 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Puriwatt
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 02 มกราคม 2009, 09:12
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

โอว้ ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 02 มกราคม 2009, 09:53
มือสังหารเงา's Avatar
มือสังหารเงา มือสังหารเงา ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กันยายน 2008
ข้อความ: 11
มือสังหารเงา is on a distinguished road
Default

แต่ผมหาได้ 44

ดูจาก f(x) จะได้ x-$\frac{k}{m}$ เมื่อ k เป็น $a_n$ และ m เป็น $a_0$

โดยที่ ห.ร.ม. ของ k และ m เป็น 1 หรือ (k,m)=1 เนื่องจาก c เป็นตัวประกอบหนึ่ง f(x)

ค่าของ c ที่เป็นไปได้ = $\pm (\frac{5}{1} )$ แต่ c เป็นจำนวนเต็มบวก c=5

f(5)=125+75+5k-5 เนื่องจาก f(c) หรือ f(5)=0 จะได้ k=39

ค่าของ $\left|k+c\right|$ =39+5 =44
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 02 มกราคม 2009, 09:56
มือสังหารเงา's Avatar
มือสังหารเงา มือสังหารเงา ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กันยายน 2008
ข้อความ: 11
มือสังหารเงา is on a distinguished road
Default

ถูกผิดขอเชิญชี้แนะด้วย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 02 มกราคม 2009, 10:18
Puriwatt's Avatar
Puriwatt Puriwatt ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 กันยายน 2006
ข้อความ: 1,435
Puriwatt is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ มือสังหารเงา View Post
แต่ผมหาได้ 44

ดูจาก f(x) จะได้ x-$\frac{k}{m}$ เมื่อ k เป็น $a_n$ และ m เป็น $a_0$

โดยที่ ห.ร.ม. ของ k และ m เป็น 1 หรือ (k,m)=1 เนื่องจาก c เป็นตัวประกอบหนึ่ง f(x)

ค่าของ c ที่เป็นไปได้ = $\pm (\frac{5}{1} )$ แต่ c เป็นจำนวนเต็มบวก c=5

f(5)=125+75+5k-5 เนื่องจาก f(c) หรือ f(5)=0 จะได้ k = 39

ค่าของ $\left|k+c\right|$ =39+5 =44
คุณมือสังหารคงจะลืมดูเครื่องหมายอะครับ

เพราะ $f(x)=x^3+3x^2+kx -5$ และ f(5) = 125+75+5k-5 = 0 จึงได้ $k = \dfrac {-195}{5}$ = $-39$

ค่าของ $\left|k+c\right|$ = $\left|-39+5\right|$ = $\left|-34\right|$ = $34$ ครับ

02 มกราคม 2009 10:23 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Puriwatt
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 02 มกราคม 2009, 18:28
มือสังหารเงา's Avatar
มือสังหารเงา มือสังหารเงา ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 02 กันยายน 2008
ข้อความ: 11
มือสังหารเงา is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ - - ลืมเครื่องหมาย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 20:46


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha