Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Calculus and Analysis
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ค้นหา ข้อความวันนี้ ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 21 เมษายน 2017, 18:31
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

ถ้าเรามองว่าเมื่อ ความเร็วที่มากกว่าค่าคงที่ของแสงไม่ได้เพิ่มส่วนที่เป็นจำนวนจริงให้มากขึ้นแต่เพิ่มส่วนที่เป็นจินตภาพแทนก็จะไม่ขัดแย้งใช่ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 21 เมษายน 2017, 20:07
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tamzz View Post
ถ้าเรามองว่าเมื่อ ความเร็วที่มากกว่าค่าคงที่ของแสงไม่ได้เพิ่มส่วนที่เป็นจำนวนจริงให้มากขึ้นแต่เพิ่มส่วนที่เป็นจินตภาพแทนก็จะไม่ขัดแย้งใช่ไหมครับ
คือ คณิตศาสตร์มันมีอะไรมากกว่านั้นอ่ะครับ เช่นถ้าสนใจพฤติกรรมของความเร็วของวัตถุใดก็ลองเขียนฟังก์ชันของระยะทางของวัตถุนั้นในฟังก์ชันของเวลาออกมาให้ได้ก่อน แล้วอาจจะดิฟระยะทางเทียบกับเวลาก็จะได้ฟังก์ชันความเร็วออกมาในเทอมของฟังก์ชันเวลาได้ ซึ่งหลักการนี้ก็เป็นหลักทางฟิสิกส์ทั่วไป หลังจากนั้นก็เป็นเรื่องของการวิเคราะห์ทางเชิงซ้อนของฟังก์ชันนั้นๆแล้วอ่ะครับซึ่งส่วนนี้ถือว่ายากต้องใช้คณิตศาสตร์บริสุทธิ์เข้ามา จับ โดยคำนึงข้อจำกัดทางกายภาพด้วย แล้วนำผลการคำนวณกับข้อจำกัดมาเทียบกัน อาจทำให้เราเห็นอะไรบางอย่างและตอบคำถามที่อยู่นอกบริบทของกรอบความรู้เดิมๆบางอย่างได้ แต่ต้องบอกว่ามันเป็นเรื่องที่ยากมากหรือแทบเป็นไปไม่ได้เลย เพราะจะเจอกับข้อขัดแย้งมากมายจนล้มเลิกไปก่อนแต่ถ้าทำได้ก็จะเรียกได้ว่าคุณสร้างทฤษฎีขึ้นมาใหม่อ่ะครับ
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 21 เมษายน 2017, 20:56
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

บางทีผมอาจจะคิดไกลเกินไปถ้าต้องการศึกษาเรื่องพวกนี้ต่อจากพื้นฐานควรไปต่อวิชาไหนครับจะลองเรียนออนไลน์ดูครับ ที่จริงก็ไม่ได้อยากมีชื่อเสียงแต่แค่คิดว่าแนวคิดพวกนี้มันน่าสนใจทิ้งไม่ลงถ้าเป็นไปได้ก็ไม่อยากใช้อะไรที่มันซับซ้อนมากที่เอาโลกคว ามจริงมาปนเพราะคิดว่าถ้าเรานึกาพตามได้มันน่าจะเข้าถึงได้ง่ายกว่าสำหรับคนทั่วๆไปแต่บางทีผมอาจจะผิดก็ได้ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 25 เมษายน 2017, 16:35
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

กลับเข้าเรื่องคณิตศาสตร์แบบนี้แสดงว่า x/0 = x cos90 ใช่ไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 25 เมษายน 2017, 22:31
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Icon15

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tamzz View Post
กลับเข้าเรื่องคณิตศาสตร์แบบนี้แสดงว่า x/0 = x cos90 ใช่ไหมครับ
น่าจะหมายถึง x/0=xtan90มากกว่าไหมครับ
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 26 เมษายน 2017, 17:16
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

ตอนแรกผมมองว่ามันคือcos ที่แต่ชันมากจนดูเหมือนเป็น tan เพราะถ้ามองเป็น tan มันน่าจะเป็นมุมตรงข้าม ซึ่งก็เป็นแนวคิดที่น่าสนใจทีเดียว ถ้าเราเล่นแนวคิดนี้ต่อไปอีกว่า จาก dy/dx ที่ชันขึ้นเรื่อยๆจะมีจุดนึงที่มุมจะเปี่ยนจาก cos ไปเป็น tan ผมอาจจะผิดนะครับแต่ผมมาเพื่อแลกเปลี่ยน ผมคิดว่าน่าจะสร้างอะไร สวยๆได้จากตรงนี้
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 26 เมษายน 2017, 21:08
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tamzz View Post
ถ้าเรามองว่าเมื่อ ความเร็วที่มากกว่าค่าคงที่ของแสงไม่ได้เพิ่มส่วนที่เป็นจำนวนจริงให้มากขึ้นแต่เพิ่มส่วนที่เป็นจินตภาพแทนก็จะไม่ขัดแย้งใช่ไหมครับ
ผมจะแสดงให้ดูนะครับว่าในทางคณิตศาสตร์เวลาเป็นจำนวนจินตภาพได้ยังไง?
ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษบอกเราว่า.........$t=\frac{t_0}{\sqrt{1-(\frac{v}{c})^2 } } $
ลองนึกดูว่าถ้าวัตถุมีความเร็วเป็นสัก2เท่าของความเร็วแสง $v=2c$
จะได้ว่า $t=\frac{t_0}{\sqrt{1-(2)^2 } }=\frac{t_0}{\sqrt{3}i }=(\frac{-1}{\sqrt{3} }i )t_0 $
คือถ้าเวลาในกรอบความเร็วสัมพัทธ์หยุดนิ่งผ่านไป 1 วินาที......เวลาในกรอบความเร็วสัมพัทธ์2c จะเป็นจำนวนจินตภาพทันที...... ผมไม่แน่ใจนะครับสมการมันออกมาอย่างงั้น?
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 27 เมษายน 2017, 19:33
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

ที่จริงแล้วผมคิดว่า i คือมุมที่ยกขึ้นมาแล้ว x/0= xi ซึ่งต้องลองเทียบกับนิยามเก่าก่อนว่าจะเข้ากันได้ไหม.....................ส่วนเรื่องเวลาจิตนาภาพผมคิดว่ามันคือการเคลื่อนที่ไปในแกนท ี่เพิ่มขึ้น ผมก็ไม่แน่ใจครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 30 เมษายน 2017, 11:10
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tamzz View Post
ที่จริงแล้วผมคิดว่า i คือมุมที่ยกขึ้นมาแล้ว x/0= xi ซึ่งต้องลองเทียบกับนิยามเก่าก่อนว่าจะเข้ากันได้ไหม.....................ส่วนเรื่องเวลาจิตนาภาพผมคิดว่ามันคือการเคลื่อนที่ไปในแกนท ี่เพิ่มขึ้น ผมก็ไม่แน่ใจครับ
ข้อสมมติฐานที่ว่ามาจะสามารถบอกได้ว่าใช่หรือไม่ โดยต้องรู้จักจำนวน $1/0$อย่างลึกซึ้งมากกว่านี้ครับ ซึ่งผมว่าโดยทฤษฎีในปัจจุบันยังรู้จักจำนวน $1/0$ ไม่ดีพอครับ แต่ผมก็มีแนวคิดเกี่ยวกับจำนวน $1/0$ อยู่เหมือนกันครับว่ามันเป็นขอบของจำนวนจริงก่อนที่จะก้าวล่วงไปสู่เขตของจำนวนจินตภาพซึ่งทฤษฎีคณิตศาสตร์ในปัจจุบันรู้เกี่ยวกับจำนวน จินภาพเป็นอย่างดี ผมจึงว่าจำนวน $1/0$ น่าจะเป็นจำนวนอะไรบางอย่างที่มีสมบัติบางอย่างเหมือนจำนวนจริง ในขณะเดียวกันก็มีสมบัติบางอย่างเหมือนจำนวนจินตภาพ แต่มันเป็นแค่แนวคิดนะครับผม ไม่ได้ฟันธงลงไปแต่อย่างใด
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #25  
Old 02 พฤษภาคม 2017, 16:58
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

ต่อไปนี้จะเป็นแค่ความเห็นของผมล้วนๆนะครับมาแลกเปลี่ยนกัน ถ้าเรามองว่าดิฟแล้วได้มุมความชันของกราฟออกมา ดิฟอีกทีได้ความโค้ง เรามองว่าฟังชั่นต่อเนื่องทุกๆฟั่งชันจะมีความชั่นไม่ถึง 90 องศา และความโค้งไม่เกินหน่วยๆนึง ถ้าเราซูมส่วนโค้งฟังชั่นนึงไปเรื่อยๆเราจะพบว่ามันแตกออกเพราะความโค้งคือความเร่งของความชันถ้าความชันถูกจำกัดความโค้งก็ถูกจำกัดด้ว ยที่เราไม่เห็นการแตกออกเพราะในการคำนวนเราค่อยๆซูมไปที่ละชั่นๆไม่ได้รวดเดียว ผมเดาเอาเองว่าถ้าเราลองใช้เครื่องวัดที่ค่อยๆขยายเราอาจจะเห็นอนุภาคเป็นคลื่นก็ได้ นี่ทึกทักเอาเองล้วนๆนะครับ

...........................................

ผิดๆเปลี่ยนซูมเป็นย่อขนาด มองกลับกัน

02 พฤษภาคม 2017 17:12 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ tamzz
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #26  
Old 08 พฤษภาคม 2017, 11:18
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default

ความคิดเห็นนี้จะเป็น จินตนาการ(น้อยนิด)+ความรู้(ไม่มาก)+อคติ(ส่วนตัว) เกี่ยวกับการอธิบายค่าของความโค้งในการเคลื่อนที่โดยใช้แคลคูลัสเป็นเครื่องมือนะครับ
ในการเคลื่อนที่2มิติคือมีมิติของแกน xและแกนy.....
ให้ $dl=ค่าความยาวส่วนโค้งของการเคลื่อนที่,dy=ค่าการกระจัดตามแนวแกนy,dx=ค่าการกระจัดตามแนวแกนx,R=รัศมีความโค้งของการเคลื่อนที่,$
$\rho =\frac{1}{R}=ค่าความโค้งของการเคลื่อนที่, \theta =มุมที่กราฟการเคลื่อนที่ทำกับแกนx,\frac{dy}{dx}=y'=อนุพันธ์อันดับ1ของyเทียบกับx,$
$\frac{d^2y}{dx^2} =y''=อนุพันธ์อันดับ2ของyเทียบกับx $
จะได้ความสัมพันธ์คือ $(dl)^2=(dx)^2+(dy)^2$
ทำต่อไปได้...
$dl=(1+(\frac{dy}{dx}) ^2)^{\frac{1}{2}}dx $
$\frac{dl}{dx} =(1+(\frac{dy}{dx})^2)^{\frac{1}{2}} $
$\frac{Rd\theta }{dx}= (1+tan^2\theta )^{\frac{1}{2}}$.........(1)
ในขณะที่ $\frac{d^2y}{dx^2} =\frac{d(tan\theta) }{dx}$
$ \frac{d^2y}{dx^2} =sec^2\theta \frac{d\theta }{dx} $
หรือ $\frac{d\theta }{dx} =(\frac{d^2y}{dx^2} )(cos^2\theta )$..........(2)
แทน (2)ใน(1)..........$Rcos^2\theta (\frac{d^2y}{dx^2})=sec\theta $
$\frac{1}{R} =(cos^3\theta) (\frac{d^2y}{dx^2})$
$\rho =\frac{y''}{(1+y'^2)^{\frac{3}{2} }} $
หรือตีความได้ว่าค่าความโค้งในการเคลื่อนที่2มิติขึ้นอยู่กับค่า อนุพันธ์อันดับ1และ2
อย่างเช่นในการเคลื่อนที่แบบวิธีโค้งภายใต้ความโน้มถ่วงของโลกวัตถุจะมีค่าความโค้งมากที่สุดเมื่อ $y'=0$และจะได้ค่าความโค้ง$=y''$ หรือพูดได้ว่าวัตถุจะมีความโค้งมากที่สุดเมื่อวัตถุอยู่ในตำแหน่งสูงสุดนั่นเอง
หรือถ้าตีความให้โอเวอร์อีกสักนิดก็คือ ที่ตำแน่งสูงสุดของการเคลื่อนที่วิถีโค้งภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก วัตถุจะมีค่าความโค้งมากที่สุดทำให้เกิดความเหวี่ยงซึ่งผมขอเรียกว่าความเร่งเทียมเพื่อเสมือนว่าวัตถุเป็นอิสระไม่ได้ตกภายใต้ความโน้ม ถ่วงของโลกแต่อย่างใด
คราวนี้เราลองมาพิจารณาการเคลื่อนที่แบบ 1 มิติ เราก็น่าสามารถจะหาความโค้งของการเคลื่อนที่ได้เมื่อเทียบกับเวลา ผมขอเรียกว่าเป็นค่าความโค้ง $1มิติ space-time$

ซึ่งคาดว่า เมื่อผู้สังเกตอยู่ในกรอบความเร็วสัมพัทธ์หยุดนิ่ง(v=0)และสังเกตุวัตถุรอบข้างมีความเร็วสูงมากอย่างมีความเร่ง มิติของspace-timeน่าจะมีความโค้งเกิดขึ้น
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต

19 มิถุนายน 2021 07:06 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ tngngoapm
เหตุผล: ทบทวนวิธีทางคณิตศาสตร์
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #27  
Old 11 พฤษภาคม 2017, 13:49
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

ความเร่งของวัตถุไม่สามารถมากกว่าความเร็วของวัตถุได้ใช่ไหมครับ จะเห็นได้ว่าความโค้งจะไม่สามารถมากกว่า1 ได้ และถ้าวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ตามความเร่ง ความเร็วของวัตถุจะเพิ่มขึ้น และความโค้งของวัตถุจะน้อยลง และถ้าวัตถุไม่มีความเร่ง ความโค้งของวัตถุก็จะเท่ากับ0

ที่ผมสงสัยคือสิ่งที่เคลื่อนที่ในวิถีโค้งจำเป็นไหมที่ต้องมีความเร่งที่ไม่ใช่ 0
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #28  
Old 15 พฤษภาคม 2017, 12:05
tngngoapm's Avatar
tngngoapm tngngoapm ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2014
ข้อความ: 462
tngngoapm is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tamzz View Post
ความเร่งของวัตถุไม่สามารถมากกว่าความเร็วของวัตถุได้ใช่ไหมครับ จะเห็นได้ว่าความโค้งจะไม่สามารถมากกว่า1 ได้ และถ้าวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ตามความเร่ง ความเร็วของวัตถุจะเพิ่มขึ้น และความโค้งของวัตถุจะน้อยลง และถ้าวัตถุไม่มีความเร่ง ความโค้งของวัตถุก็จะเท่ากับ0

ที่ผมสงสัยคือสิ่งที่เคลื่อนที่ในวิถีโค้งจำเป็นไหมที่ต้องมีความเร่งที่ไม่ใช่ 0
เป็นคำถามที่ซ่อนความท้าทายอยู่นะครับ อดที่จะตอบความเห็นไม่ได้ว่า........
ขอตอบเป็นแคลคูลัสนิดหน่อยนะครับ เพื่อให้เกิดระดับความเชื่อถือเล็กๆคือ........

จากความคิดเห็นก่อนหน้าสมการค่าความโค้งของการเคลื่อนที่แบบ2มิติ.....$\rho =\frac{y''}{(1+y'^2)^{\frac{3}{2} }} $....
ถ้าเราเพิ่มมิติของเวลาเข้าไปจะเกิดอะไรขึ้น นั่นคือคำถามที่เราควรจะหาคำตอบในรูปของสมการอะไรบางอย่างให้ได้ก่อนซึ่งขอเรียกว่าเป็นสมการการเคลื่อนที่ 2มิติSpace-time ล่ะกันนะครับ......(สัญลักษณ์ต่างๆดูจากความคิดเห็นที่แล้วประกอบครับ....ขอไปเร็วๆเลยละกัน......$v_y=ความเร็วทางแกนy,v_x=ความเร็วทา งแกนx,a_y=ความเร่งทางแกนy,a_x=ความเร่งทางแกนx,v=ความเร็วของวัตถุ$
$a_T=ความเร่งตามแนวเส้นสัมผัส,a_r=ความเร่งตามแนวรัศมีความโค้ง,a_c=ความเร่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางความโค้ง$)
............................................................................
............................................................................
จะได้สมการ $a_c=v^2\rho $
ตีความได้ว่าเมื่อวัตถุเคลื่อนที่แบบมีความเร็วและมีความโค้งทางกายภาพ วัตถุนั้นย่อมมีความเร่งทางกายภาพอย่างน้อยก็ความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลางครับ......
แต่ผมขอตั้งข้อสังเกตว่าวัตถุที่เคลื่อนที่นั้นไม่จำเป็นต้องมีค่าความเร็ว,ความเร่ง,ความโค้งแบบกายภาพเสมอไปคืออาจจะมีความเร็ว,ความเ ร่งในส่วนของเชิงซ้อนอยู่ด้วย และเมื่อเราแทนค่าปริมาณเหล่านั้นลงในสมการที่ได้ ทำให้ผมคิดว่าการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงมากๆ ที่เรียกว่า"การวาร์ป" ในนิยายวิทยาศาสตร์นั้นอาจมีความเป็นไปได้ทางทฤษฎีก็เป็นได้.....เดี๋ยวจะมาเล่าให้ฟังต่อละกันครับ.....
__________________
ประสบการณ์จะให้ประโยชน์อย่างเงียบๆ เมื่อเราสำนึกถึงข้อมูลในอดีต
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #29  
Old 15 พฤษภาคม 2017, 16:40
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

น่าสนใจครับ ผมขอสอบถามประเด็นที่ผมยังสงสัยอยู่ดังนี้ 1 ความเร่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางความโค้งมีขีดจำกัดสูงสุดไหม 2 ค่าวีติดกำลังสองอยู่ แสดงว่ามีความเป็นไปได้ที่เมื่อสลับค่าไปมาแล้ว จะได้ตัวแปร ที่เป็นจำนวนจิตนภาพ เงื่อนไขอะไรทำให้เกิดตัวแปรที่เป็นจิตนภาพ แล้วมีผลกระทบยังไงกับสมการเมื่อจำนวนกลายเป็นจิตนภาพ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #30  
Old 15 พฤษภาคม 2017, 19:02
tamzz tamzz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 มิถุนายน 2010
ข้อความ: 92
tamzz is on a distinguished road
Default

ผมสังเกตุว่า ค่าวีในสมการ เราน่าจะสามารถเชื่อมมันกับทิศทางของแวกเตอร์ได้ว่าเป็นบวกหรือลบ แล้วเราค่อยยกกำลัง ถ้าเป็นทิศที่ค่าวีเป็นลบ เราก็จะสามารถบอกว่าสมการมีตัวแปรที่เป็นจิตนภาพเราก็น่าจะได้สมการการเกิดขึ้นของแกนจิตนภาพโดยไม่ต้องติดค่าไอ...................... .... ไม่100%นะครับแค่ข้อสังเกตุเฉยๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
ค้นหาในหัวข้อนี้:

ค้นหาขั้นสูง

กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 23:55


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha