Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 19:10
RedfoX's Avatar
RedfoX RedfoX ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 182
RedfoX is on a distinguished road
Default ช่วยหน่อยครับ

1.ถ้า
\[
a_n
\]
เป็นลำดับลู่เข้า และ
\[
b_n
\]
เป็นลำดับลู่ออก
แล้ว ลำดับ
\[
a_n + b_n
\]
ลู่ออก ข้อความนี้จริงหรือไม่ (ผมหาคำตอบได้แต่ไม่รู้จะแสดงวิธีทำยังไงอะครับ)
2. \[
50 \le m \le 100
\]
โดย 7 หาร
\[
m^3
\]
เหลือเศษ 6
จงหา จำนวนทั้งหมด ในเซต m ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขดังกล่าว (ตอบ 21 ครับ)
__________________
ชอบคณิตศาสตร์ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 19:34
t.B.'s Avatar
t.B. t.B. ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2007
ข้อความ: 634
t.B. is on a distinguished road
Default

Hint:
1.เท่าที่เคยเรียนมาลำดับลู่ออกมี 4 กรณีย่อยหรือถ้าคุณRedfoX ได้เรียนมามากกว่านั้น ก็ลองยกตัวอย่างค้านโดยใช้ค่าของแต่ละกรณีแทนดูครับว่าจริงมั้ย
__________________
I am _ _ _ _ locked

08 พฤศจิกายน 2007 19:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ t.B.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 19:48
RedfoX's Avatar
RedfoX RedfoX ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 182
RedfoX is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ t.B. View Post
Hint:
1.เท่าที่เคยเรียนมาลำดับลู่ออกมี 4 กรณีย่อยหรือถ้าคุณRedfoX ได้เรียนมามากกว่านั้น ก็ลองยกตัวอย่างค้านโดยใช้ค่าของแต่ละกรณีแทนดูครับว่าจริงมั้ย
4 กรณีย่อยอะำไรบ้างหรือครับ ลองทำให้ดูหน่อยสิครับ
__________________
ชอบคณิตศาสตร์ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 19:54
t.B.'s Avatar
t.B. t.B. ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2007
ข้อความ: 634
t.B. is on a distinguished road
Default

ผมเรียนเรื่องลิมิตมาจากเรื่องลำดับและอนุกรมอีกทีนะครับ ยังไม่ได้เรียนลิมิตแบบเต็มบท
4 กรณีที่ว่านั้นคือ
i) $\lim_{n \to \infty} a_n =\infty $
ii) $\lim_{n \to \infty} a_n =-\infty $
iii) ลำดับกวัดแกว่งแบบลู่ออก เช่น $a_n=(-1)^n$
iv) ลำดับที่มี $\lim_{n \to \infty} a_n$ มากว่า $1$ ค่า
ส่วนข้อ2นั้นผมคิดได้เป็นแสนกรณีเลยอะครับ ท่าทางจะทำผิด
__________________
I am _ _ _ _ locked
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 20:00
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ RedfoX View Post
2. $50 \le m \le 100$ โดย 7 หาร $m^3 $เหลือเศษ 6
จงหา จำนวนทั้งหมด ในเซต m ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขดังกล่าว (ตอบ 21 ครับ)

จำนวนดังกล่าวจะสามารถเขียนในรูป $7p+3,7q+5,7r+6$ แล้วก็พิจารณาจำนวนสามจำนวนนี้ในช่วง $50-100$ ครับ
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 20:03
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

ข้อแรก ลองสมมติให้ $c_n=a_n+b_n$ เป็นลำดับลู่เข้าแล้วพิจารณา $b_n=c_n-a_n$ ดูนะครับ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 20:15
RedfoX's Avatar
RedfoX RedfoX ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 182
RedfoX is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ kanakon View Post
จำนวนดังกล่าวจะสามารถเขียนในรูป $7p+3,7q+5,7r+6$ แล้วก็พิจารณาจำนวนสามจำนวนนี้ในช่วง $50-100$ ครับ
ทำไมถึงเขียนในรูปนั้นได้ละครับ ผมไม่เข้าใจ แสดงแบบละเอียดทีสิครับ

อืม ข้อแรก วิธีที่ คุณ nongtum แนะสวยดีนะครับ ขอบคุณครับ สรุปว่าไม่จริงใช่ไหมครับ
ส่วนวิธีที่คุณ tb บอกนี่ ผมยังแจงกรณีแต่ละอันไม่ครบเลยช่วยทีสิครับ โดยเฉพาะกรณี 1 กับ 2 ครับ
__________________
ชอบคณิตศาสตร์ครับ

08 พฤศจิกายน 2007 20:31 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: Double post
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 20:30
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

สังเกต: $1^3\equiv2^3\equiv4^3\equiv1\pmod7$ และ $3^3\equiv5^3\equiv6^3\equiv-1\pmod7$
หรือหากยังไม่เข้าใจว่าทำไมดูแค่เศษ ก็ลองดูเศษจากการกระจาย $(7q+r)^3, 0\le |r|<7$ สิครับ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 20:34
RedfoX's Avatar
RedfoX RedfoX ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 182
RedfoX is on a distinguished road
Default

ผมเข้าใจครับว่าทำไถึึงดูแค่เศษ แต่ที่ไม่เข้าใจคือ รูปแบบ 7q+3,7q+5,7q+6 ว่ามายังไงละครับ เอาแบบที่ไม่ใช่คอนกรูเอนซ์นะครับ เพราะเป็นโจทย์เอนท์ปี 48 ไม่มีเนื้อหานี้นะครับ
__________________
ชอบคณิตศาสตร์ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 20:41
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Default

#9
กรุณาอ่านบรรทัดสุดท้ายของ #8 อีกครั้ง
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 20:42
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ RedfoX View Post
ทำไมถึงเขียนในรูปนั้นได้ละครับ ผมไม่เข้าใจ แสดงแบบละเอียดทีสิครับ
พิจารณา
$(7k+p)^3=(7k)^3+3(7k)^2p+3(7k)p^2+p3$
$\because p\in N,1\leq p\leq 6$
$\because 7|\left(\,(7k)^3+3(7k)^2p+3(7k)p^2\right) $
$\therefore 7|p^3-6 $
$\therefore p^3=3^3,5^3,6^3$
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 08 พฤศจิกายน 2007, 20:46
t.B.'s Avatar
t.B. t.B. ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2007
ข้อความ: 634
t.B. is on a distinguished road
Default

วิธีของผมนะครับ(เชยๆยังไงก็ไม่รู้- -")
__________________
I am _ _ _ _ locked

08 พฤศจิกายน 2007 21:08 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ t.B.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 13 พฤศจิกายน 2007, 20:41
RedfoX's Avatar
RedfoX RedfoX ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 182
RedfoX is on a distinguished road
Default

ขอบคุณมากนะครับ ตอนนี้เข้าได้หมดละครับ ^^
__________________
ชอบคณิตศาสตร์ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 14 พฤศจิกายน 2007, 05:02
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

#12 ถ้าจะพิสูจน์ว่าข้อความเป็นจริง แค่นี้คงไม่พอครับ เพราะเป็นแค่ตัวอย่างเท่านั้น
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:51


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha