Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์ประถมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ประถมปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2010, 21:53
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ เทพแห่งคณิตศาสตร์ตัวจริง View Post
9.$\frac{1}{4} + \frac{1}{28} + \frac{1}{70} + \frac{1}{130} + \frac{1}{208} + \frac{1}{304} + \frac{1}{418} $ = ?
จับมาแต่งหน้าทาปากใหม่เป็น
= $\frac{1}{1\times 4} + \frac{1}{4\times 7} + \frac{1}{7\times 10} + \frac{1}{10\times 13} + \frac{1}{13\times 16} + \frac{1}{16\times 19} + \frac{1}{19\times 22} $

= $\frac{1}{3}$ $\times $ $\left[\,(1-\frac{1}{4})+( \frac{1}{4}-\frac{1}{7} )+ (\frac{1}{7}-\frac{1}{10})+( \frac{1}{10}-\frac{1}{13}) + (\frac{1}{13}-\frac{1}{16}) + (\frac{1}{16}-\frac{1}{19} )+( \frac{1}{19}-\frac{1}{22} )\right]$

เห็นแล้วว่าอะไรตัดกับอะไรได้บ้าง....คิดต่ออีกหน่อยก็ได้คำตอบแล้ว
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2010, 21:58
คusักคณิm's Avatar
คusักคณิm คusักคณิm ไม่อยู่ในระบบ
เทพยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 มีนาคม 2008
ข้อความ: 4,888
คusักคณิm is on a distinguished road
Default

2.Name:  math.gif
Views: 702
Size:  18.3 KB
ดังนั้น $2552 /4 เศษ 0$ จะมีเลขโดดหลักหน่วยเป็น 1
__________________
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2010, 22:01
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 546
เทพแห่งคณิตศาสตร์ตัวจริง is on a distinguished road
Default

ถูกครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2010, 22:11
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ เทพแห่งคณิตศาสตร์ตัวจริง View Post
8.จงหาผลบวกของจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง -50 และ 500 และหารด้วย7ลงตัว
ความหมายของโจทย์น่าจะเขียนได้อีกแบบว่า มีจำนวนเต็ม 51-500 เมื่อนำจำนวนที่ 7หารลงตัวมาบวกกันได้เท่าไหร่
$56+63+...+497$
= $7\times (8+9+...+71)$
$(8+9+...+71) = (1+2+..+71)-(1+2+...+7)$
$(1+2+..+71)=36\times 71$
$(1+2+...7)= 28$
จะได้ว่า $(8+9+...+71) = (36\times 71)-28 = 2528$
ผลบวกของจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง -50 และ 500 และหารด้วย7ลงตัว เท่ากับ $7\times 2528$
$17696$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

28 กุมภาพันธ์ 2010 23:08 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2010, 22:15
กระบี่ไร้คม's Avatar
กระบี่ไร้คม กระบี่ไร้คม ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 05 มกราคม 2010
ข้อความ: 225
กระบี่ไร้คม is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
ความหมายของโจทย์น่าจะเขียนได้อีกแบบว่า มีจำนวนเต็ม 51-500 เมื่อนำจำนวนที่ 7หารลงตัวมาบวกกันได้เท่าไหร่
$56+63+...+497$
= $7\times (8+9+...+71)$
$(8+9+...+71) = (1+2+..+71)-(1+2+...7)$
$(1+2+..+71)=36\times 71$
$(1+2+...7)= 28$
จะได้ว่า $(8+9+...+71) = (36\times 71)-28 = 2528$
ผลบวกของจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง -50 และ 500 และหารด้วย7ลงตัว เท่ากับ $7\times 2528$
$17696$
ถูกครับ(ผมมีโจทย์และเฉลยเเบบคุณเทพคณิตศาสตร์ตัวจริง)
__________________
(- -'')
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2010, 22:20
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 546
เทพแห่งคณิตศาสตร์ตัวจริง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กระบี่ไร้คม View Post
ถูกครับ(ผมมีโจทย์และเฉลยเเบบคุณเทพคณิตศาสตร์ตัวจริง)
ขอบคุณครับที่ช่วยเฉลย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 28 กุมภาพันธ์ 2010, 23:38
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ถ้ามีวิธีคิดแบบอื่น ก็นำมาแบ่งปันกันก็ได้ครับ จะได้เปิดโลกของกบน้อยๆอย่างผมบ้าง

ข้ิอ3.$14\pi $
ข้อ4.คิดได้เศษ 8
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

28 กุมภาพันธ์ 2010 23:53 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
เหตุผล: double post
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 01 มีนาคม 2010, 08:44
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ เทพแห่งคณิตศาสตร์ตัวจริง View Post

4.จำนวนเต็มBหารด้วย11เหลือเศษ5แล้ว$B^2 +3B+1$ หารด้วย11เหลือเศษเท่าใด


แบบประถมก็ไล่ B ไปเรื่อยๆ


จำนวนเต็มBหารด้วย11เหลือเศษ5

$B = 5, \ 16, \ 27 ... $

ลองแทนค่า $B$ ในสมการ $B^2 +3B+1$

$B^2 +3B+1 = 5^2+3(5)+1 = 41 $ หารด้วย 11 เหลือเศษ 8

$B^2 +3B+1 = 16^2+3(16)+1 = 305 $ หารด้วย 11 เหลือเศษ 8

ตอบเหลือเศษ 8
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 01 มีนาคม 2010, 08:56
me-ow's Avatar
me-ow me-ow ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 พฤศจิกายน 2008
ข้อความ: 25
me-ow is on a distinguished road
Default

ข้อ 5.คือรูป 43 เหลี่ยม
ข้อ 7.เดิมซื้อปากกามาราคา 60 บาท

01 มีนาคม 2010 08:57 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ me-ow
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #25  
Old 01 มีนาคม 2010, 09:09
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ เทพแห่งคณิตศาสตร์ตัวจริง View Post

3.ผลบวกของพื้นที่ของวงกลมสองวงเท่ากับ $74\pi$ ตารางหน่วย ถ้าผลต่างของพื้นที่ของวงกลมสองเท่ากับ$24\pi$ตารางหน่วย
จงหาความยาวของเส้นรอบวงของวงกลมใหญ่
วงกลมใหญ่รัศมี $R$ หน่วย วงกลมเล็กรัศมี $r$ หน่วย


ผลบวกของพื้นที่ของวงกลมสองวงเท่ากับ $74\pi$


$\pi (R^2+r^2) = 74 \pi$

$ (R^2+r^2) = 74 $ ....(1)

ผลต่างของพื้นที่ของวงกลมสองเท่ากับ$24\pi$

$ (R^2-r^2) = 24 $ ....(2)

จาก (1) และ (2) ได้ $R =7$

เส้นรอบวงของวงกลมใหญ่ = $2\pi R = 14\pi$
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)

01 มีนาคม 2010 09:11 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ banker
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #26  
Old 01 มีนาคม 2010, 09:36
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
ความหมายของโจทย์น่าจะเขียนได้อีกแบบว่า มีจำนวนเต็ม 51-500 เมื่อนำจำนวนที่ 7หารลงตัวมาบวกกันได้เท่าไหร่
$56+63+...+497$
= $7\times (8+9+...+71)$
$(8+9+...+71) = (1+2+..+71)-(1+2+...+7)$ <-- ตรงนี้ใช้สูตร $\frac{(ปลาย+ต้น)(ปลาย-ต้น +1)}{2}$ ได้ครับ
$(1+2+..+71)=36\times 71$
$(1+2+...7)= 28$
จะได้ว่า $(8+9+...+71) = (36\times 71)-28 = 2528$
ผลบวกของจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง -50 และ 500 และหารด้วย7ลงตัว เท่ากับ $7\times 2528$
$17696$
$[(1+2+3+...+n)] + [(n+1),+ (n+2), + ... + (m)]$


ถ้าต้องการหา $[(n+1),+ (n+2), + ... + (m)]$

แทนที่จะหา $[1+2+3 +...+..m] - [(1+2+3+...+n)]$ แบบที่เราคุ้นเคย

เราจะหาสูตรที่ไม่ต้องเริ่มจาก 1

$[(n+1),+ (n+2), + ... + (m)] = [1+2+3 +...+..m] - [(1+2+3+...+n)] $

$=[ \frac{m(m+1)}{2}] - [\frac{n(n+1)}{2}]$

$= \frac{m(m+1)-n(n+1)}{2}$

$= \frac{m^2+m-n^2-n}{2}$

$\frac{(m^2-n^2) +(m-n)}{2}$

$\frac{(m+n)(m-n)+(m-n)}{2}$

$\frac{(m-n) +(m+n+1)}{2}$

$=\frac{1}{2} [m-(n+1) +1][m+(n+1)]$

$=\frac{1}{2} [$ \(\overbrace{m}^{ปลาย}\) - \(\overbrace{(n+1)}^{ต้น}\) $+1][$\(\overbrace{m}^{ปลาย}\)+\(\overbrace{(n+1)}^{ต้น}\)]

สูตร = $\frac{(ปลาย+ต้น)(ปลาย-ต้น + 1)}{2}$

ใช้ได้ทั้งแบบเร่มต้นด้วย 1 หรือไม่เริ่มต้นด้วย 1

ตัวอย่างข้างต้น $ 8 + 9 +10 + ... +71 = \frac{(71+8)(71-8 + 1)}{2} = 2528$
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #27  
Old 01 มีนาคม 2010, 11:03
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ เทพแห่งคณิตศาสตร์ตัวจริง View Post

5.รูปหลายเหลี่ยมรูปหนึ่ง มีผลรวมของมุมภายในเป็น 3 เท่าของผลรวมของมุมภายในรูป9เหลียม รวมกับ4เท่าของผลรวมของมุมภายในรูป7เหลี่ยม จงหาว่ารูปหลายเหลี่ยมนี้คือรูปกี่เหลี่ยม

ผลรวมมุมภายใน 9 เหลี่ยม = (9x180) -360 = 1260

3 เท่า = 3 x 1260 = 3780

ผลรวมมุมภายใน 7 เหลี่ยม = (7x180) -360 = 900

4 เท่า = 4 x 900 = 3600

รูป n เหลี่ยมมีผลรวมมุมภายใน = (180x) -360 = 3600+3780

n = 43
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)

01 มีนาคม 2010 11:04 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ banker
เหตุผล: แก้คำผิด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #28  
Old 02 มีนาคม 2010, 21:30
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

ประกาศ บุญญวาทย์แล้ว ที่สุดท้าย (รับ 30คน) คะแนน 73.5 ผมได้ 73 คะแนน T^T
__________________
Fortune Lady
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #29  
Old 11 มีนาคม 2010, 20:03
A New Hope A New Hope ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 ธันวาคม 2009
ข้อความ: 99
A New Hope is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
จับมาแต่งหน้าทาปากใหม่เป็น
= $\frac{1}{1\times 4} + \frac{1}{4\times 7} + \frac{1}{7\times 10} + \frac{1}{10\times 13} + \frac{1}{13\times 16} + \frac{1}{16\times 19} + \frac{1}{19\times 22} $

= $\frac{1}{3}$ $\times $ $\left[\,(1-\frac{1}{4})+( \frac{1}{4}-\frac{1}{7} )+ (\frac{1}{7}-\frac{1}{10})+( \frac{1}{10}-\frac{1}{13}) + (\frac{1}{13}-\frac{1}{16}) + (\frac{1}{16}-\frac{1}{19} )+( \frac{1}{19}-\frac{1}{22} )\right]$

เห็นแล้วว่าอะไรตัดกับอะไรได้บ้าง....คิดต่ออีกหน่อยก็ได้คำตอบแล้ว
ตอบ 22 รึเปล่าครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #30  
Old 11 มีนาคม 2010, 20:11
คusักคณิm's Avatar
คusักคณิm คusักคณิm ไม่อยู่ในระบบ
เทพยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 28 มีนาคม 2008
ข้อความ: 4,888
คusักคณิm is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ A New Hope View Post
ตอบ 22 รึเปล่าครับ
ไม่ครับ
__________________
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 13:27


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha