Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 19 มกราคม 2013, 01:10
Di[s]-Stepz's Avatar
Di[s]-Stepz Di[s]-Stepz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 84
Di[s]-Stepz is on a distinguished road
Default การหารจำนวนเต็ม

A = { p l p เป็นจำนวนเฉพาะบวก และ p l $(980-p)^3$ } แล้วผลบวกสมาชิกในเซต A มีค่าเท่าใด

19 มกราคม 2013 01:14 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Di[s]-Stepz
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 19 มกราคม 2013, 13:55
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ลองกระจาย $(980-p)^3$
$(980-p)^3=980^3-p^3-3(980)(p)(980-p)$
$=980^3-p^3+3(980)(p)(p-980)$
จะเห็นว่า $p^3,3(980)(p)(p-980)$ หารด้วย $p$ ลงตัว
ดังนั้น $(980-p)^3$ หารด้วยจำนวนเฉพาะ $p$ ลงตัวเมื่อ $980$ หารด้วยจำนวนเฉพาะ $p$ ลงตัว
$980=2^2\times 7^2\times 5$
จำนวนเฉพาะบวกคือ $2,5,7$ ดังนั้นผลบวกของจำนวนเฉพาะ $p$ คือ $14$
ไม่รู้ว่าคิดถูกไหม เดาๆคลำๆดู
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

19 มกราคม 2013 14:58 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 19 มกราคม 2013, 16:23
Jade1209's Avatar
Jade1209 Jade1209 ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 เมษายน 2012
ข้อความ: 51
Jade1209 is on a distinguished road
Default

ลองกระจาย $(980-p)^3$ ดู จะพบว่า $p | 980^3$
ซึ่ง $980^3 = 2^6*7^6*5^3$
ดังนั้น p ที่เป็นไปได้คือ 2,5 และ 7
ผลรวมของ p ที่เป็นไปได้คือ 14
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 19 มกราคม 2013, 21:41
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ถ้าไม่กระจายก็ทำอีกแบบได้ว่า $(980-p)^3=p^3(\frac{980}{p}-1 )^3$
จะเห็นว่ามี $p$ เป็นตัวประกอบ ซึ่ง $(980-p)^3$ หารด้วย $p$ ลงตัวเมื่อ $\frac{980}{p}$ เป็นจำนวนเต็ม คือ $p$ เป็นตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะของ $980$ ได้คำตอบเท่ากับวิธีข้างบน
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 19 มกราคม 2013, 22:56
Di[s]-Stepz's Avatar
Di[s]-Stepz Di[s]-Stepz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 84
Di[s]-Stepz is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ กระจ่างเลย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 19 มกราคม 2013, 23:51
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

$p \mid (980-p)^3 $

$p \mid (980-p)(980-p)(980-p)$

$p \mid 980-p $

ได้ $p \mid 980$

$A = \left\{2,5,7\,\right\} $

$\therefore$ ผลบวกใน $A = 14$

19 มกราคม 2013 23:52 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Euler-Fermat
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 20 มกราคม 2013, 10:40
Di[s]-Stepz's Avatar
Di[s]-Stepz Di[s]-Stepz ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 84
Di[s]-Stepz is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 22 มกราคม 2013, 11:44
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

จำไม่ได้ว่าจะเป็นทฤษฎีบทเกี่ยวกับการหารหรือเปล่า เคยเห็นคุณnooonuiiiบอกว่า ถ้าจำนวนเฉพาะ $p$ หาร $a^3$ ลงตัวแล้ว $p$ หาร $a$ ลงตัว
เราเอาตรงนี้ไปสรุปว่า เมื่อ $p\left|\,(980-p)^3\right. $ แล้ว $p\left|\,(980-p)\right.$ ก็ทำต่อตามข้างต้น
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 17:09


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha