Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Calculus and Analysis
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 20 ตุลาคม 2006, 21:48
deathspirit's Avatar
deathspirit deathspirit ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 30
deathspirit is on a distinguished road
Post converge or diverge

รบกวนช่วยแนะหน่อยครับ ว่าอนุกรมเหล่านี้ลู่เข้าหรือว่าลู่ออก
หลายข้อเลยครับ ขอบคุณครับ

$$ \sum_{n=1}^{\infty}\frac{\sec^4 n}{\sqrt[3]{n}} $$
$$ \sum_{n=1}^{\infty}\frac{n^n}{3^{n}\ n!} $$
$$ \sum_{n=1}^{\infty}\sin(\frac{1}{n}) $$
$$ \sum_{n=1}^{\infty}\frac{n!}{5 \cdot 7 \cdot 9 \cdot \ (2n+3)} $$
$$ \sum_{n=1}^{\infty}\frac{1}{1+\frac{1}{2}+\frac{1}{3}+\ldots+\frac{1}{n}} $$

21 ตุลาคม 2006 09:41 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ deathspirit
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 20 ตุลาคม 2006, 22:38
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Smile

ข้อ 1 (ใน sec น่าจะเป็นตัว n นะครับ)

Divergent โดยใช้ comparison test กับ $ a_n= \frac{1}{\sqrt[3]{n}} $

ข้อ 2

Divergent โดยใช้ ratio test

ข้อ 3

Divergent โดยใช้ Limit form of comparison test กับ $ a_n= \frac{1}{n} $

ข้อ 4

Convergent โดยใช้ Ratio test

ข้อ 5

Divergent โดย $ 1+\frac{1}{2}+\frac{1}{3}+\ldots+\frac{1}{n} \leq n $ และใช้ Comparison test กับ $ a_n= \frac{1}{n} $

p.s. อย่าลืม check ตัวเลขด้วยนะครับ เผื่อผมคิดเลขผิด
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 21 ตุลาคม 2006, 09:40
deathspirit's Avatar
deathspirit deathspirit ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 30
deathspirit is on a distinguished road
Post

ขอบคุณครับ

ข้อ 2 ลองใช้ ratio test ดูแล้วได้ convergent ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 21 ตุลาคม 2006, 16:11
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

ครับ ข้อสองต้อง convergent เพราะ limit มันได้ $\frac{e}{3}<1 $ แต่เมื่อคืนผมทดได้ $ 3e$ เฉยเลย
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 09 พฤศจิกายน 2006, 21:53
deathspirit's Avatar
deathspirit deathspirit ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 30
deathspirit is on a distinguished road
Post

รบกวนอีกข้อนึงครับ

$$ \sum_{n=1}^{\infty} (\pi - 2 \arctan n) $$

ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 10 พฤศจิกายน 2006, 00:21
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

ใช้ Integral Test ครับ

โดยถ้าพิจารณา $$ \sum_{n=1}^{\infty} (\frac{\pi}{2}-\arctan(n)) $$

พบว่า ลำดับ เป็น positive decreasing sequence และ $ \int_1 ^{\infty} \arctan(x) \,\, dx $ ลู่ออก ดังนั้น series ลู่ออกด้วย
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 11 พฤศจิกายน 2006, 17:52
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Post

ยังไม่เข้าใจครับว่า ทำไม $ \int_1 ^{\infty} \arctan(x) \, dx $ ลู่ออก แล้วถึงต้องทำให้ series นั้นลู่ออกด้วย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 11 พฤศจิกายน 2006, 18:36
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

อ้อ ! ไม่ได้ใส่ constant เข้าไปนั่นเอง

ที่ถูกควรจะเป็น $ \int_1^{\infty}( \frac{\pi}{2} -\arctan(x)) \,\, dx $ ซึ่ง diverges ดังนั้นอนุกรมนี้ก็ diverges ด้วย
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 11 พฤศจิกายน 2006, 20:41
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

ตอนแรกผมนึกว่าผมไม่เข้าใจจริงๆนะเนี่ย ถ้างั้นก็คงทำประมาณนี้นะครับ

จากที่ $$ \int \tan^{-1} x \, dx = x \tan^{-1} x - \frac12 \ln (x^2+1) + C $$ ดังนั้นสิ่งสำคัญคือการแสดงว่า $$ \lim_{x \to \infty} x \left( \frac{\pi}{2} - \tan^{-1} x \right) + \frac12 \ln (x^2+1) = \infty $$ ซึ่งเป็นจริงเพราะ $$ \lim_{x \to \infty} x \left( \frac{\pi}{2} - \tan^{-1} x \right) \ge 0 $$ และ $$ \lim_{x \to \infty} \frac12 \ln (x^2+1) = \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 12 พฤศจิกายน 2006, 10:35
deathspirit's Avatar
deathspirit deathspirit ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 30
deathspirit is on a distinguished road
Post

ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 15 พฤศจิกายน 2006, 00:34
deathspirit's Avatar
deathspirit deathspirit ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 30
deathspirit is on a distinguished road
Post

อีกข้อนึงครับ
$$ \sum_{n=1}^\infty \frac{(-1)^n \cdot 2^{2n}}{4^n+3^n} $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 15 พฤศจิกายน 2006, 03:33
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Post

$\lim a_n\ne0$ ไงครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 15 พฤศจิกายน 2006, 15:43
deathspirit's Avatar
deathspirit deathspirit ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มิถุนายน 2005
ข้อความ: 30
deathspirit is on a distinguished road
Post

คือว่าถ้า $ \{a_n\} $ ไม่มีลิมิต(แบบข้อดังกล่าว) บอกว่าลู่ออกได้เลยใช่มั้ยครับ ไม่จำเป็นว่าจะต้องได้เป็นตัวเลขซึ่งไม่เป็น 0 หรือ $ \infty $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 15 พฤศจิกายน 2006, 17:38
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

ใช่ครับ เพราะถ้าลู่เข้าต้องได้ $\lim a_n=0$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 05:50


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha