Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #211  
Old 17 เมษายน 2009, 22:26
JamesCoe#18's Avatar
JamesCoe#18 JamesCoe#18 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มีนาคม 2009
ข้อความ: 219
JamesCoe#18 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ คusักคณิm View Post
แก้latexให้อิอิ

ฝากโจทย์



เฉลย....(ทำเองอิๆ)
http://integrals.wolfram.com/index.jsp
อ่าขอบคุณคับ

ข้อ1) improperintegral $\int_{0}^{\infty}\frac{dx}{(x+2)(x+3)}=lim_{a\to\infty}\int_0^a(\frac{1}{x+2}-\frac{1}{x+3})$

$\lim_{a\to\infty}ln\frac{|x+2|}{|x+3|} ]_{0}^{a}$

$\lim_{a\to\infty}\frac{|a+3|}{|a+2|}-lim_{a\to\infty}\frac{2}{3}$

$\frac{\infty}{\infty}-ln\frac{2}{3}$

indeterminatefrom $\frac{ติฟเศษ}{ดิฟส่วน}$

หา $lim^{a\to\infty}e^{ln\frac{a+3}{a+2}}$

17 เมษายน 2009 22:38 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 9 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ JamesCoe#18
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #212  
Old 17 เมษายน 2009, 22:41
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ผมใช้ by parts 2 ครั้ง ก็ออกมาได้ว่า
$$\int e^{-x} \sin 3x dx = -\frac{e^{-x}}{10}(3\cos 3x+\sin 3x)+C$$
ที่เหลือก็ improper integral ทำไม่เป็นแล้วครับอิอิ ยังไม่ได้อ่าน

17 เมษายน 2009 22:43 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Ne[S]zA
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #213  
Old 17 เมษายน 2009, 22:44
JamesCoe#18's Avatar
JamesCoe#18 JamesCoe#18 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มีนาคม 2009
ข้อความ: 219
JamesCoe#18 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ JamesCoe#18 View Post
อ่าขอบคุณคับ

ข้อ1) improperintegral $\int_{0}^{\infty}\frac{dx}{(x+2)(x+3)}=lim_{a\to\infty}\int_0^a(\frac{1}{x+2}-\frac{1}{x+3})$

$\lim_{a\to\infty}ln\frac{|a+2|}{|a+3|}-\lim_{a\to\infty}ln\frac{2}{3}$

$\lim_{a\to\infty}\frac{|a+3|}{|a+2|}-lim_{a\to\infty}ln\frac{2}{3}$

$\frac{\infty}{\infty}-ln\frac{2}{3}$

indeterminatefrom

หา $lim_{a\to\infty}e^{ln(ln\frac{a+3}{a+2})}$
ตอบ $e-ln\frac{2}{3}$ ปล. ไม่มั่นใจนะคับเพราะไม่ได้ใช้มานานแหละ

17 เมษายน 2009 22:47 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 4 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ JamesCoe#18
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #214  
Old 17 เมษายน 2009, 23:22
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

รบกวนตรวจด้วยครับ
$\int arctanx dx$

17 เมษายน 2009 23:22 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ [SIL]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #215  
Old 17 เมษายน 2009, 23:38
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ผมทำงี้ครับ
$\int \arctan x dx$
ให้ $u=\arctan x$ ได้ $du=\frac{1}{x^2+1}dx$ และ $dv=dx$ ได้ $v=x$
ดังนั้น $\int \arctan x dx=x\arctan x -\int \frac{x}{x^2+1}dx$
คิด $\int \frac{x}{x^2+1}dx$ ได้ $\int \frac{x}{x^2+1}\cdot \frac{d(x^2+1)}{2x}=\ln |x^2+1|+c$
เพราะฉะนั้น $\int \arctan x dx=x\arctan x - \ln |x^2+1|+c$ ครับ
ปล.ไปก่อนเน้อบายครับ
$$\int \arctan x dx=x\arctan x - \ln |x^2+1|+c$$

17 เมษายน 2009 23:39 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Ne[S]zA
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #216  
Old 17 เมษายน 2009, 23:42
[SIL]'s Avatar
[SIL] [SIL] ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,520
[SIL] is on a distinguished road
Default

ข้อนี้ตอบแบบนี้หรือเปล่าครับ
$$\int x^2\sqrt{1-x^2} dx = 2x^2(1-x^2)(\sqrt{1-x^2}+\frac{x}{4})+c$$

17 เมษายน 2009 23:55 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ [SIL]
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #217  
Old 18 เมษายน 2009, 00:05
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ gnopy View Post
ข้อ 2 ตอบ $\sqrt{2}arctan(\sqrt{2})$ หรือปล่าวครับ ทดแป๊ปๆ

ไม่ใช่ครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #218  
Old 18 เมษายน 2009, 00:24
JamesCoe#18's Avatar
JamesCoe#18 JamesCoe#18 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มีนาคม 2009
ข้อความ: 219
JamesCoe#18 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
ผมทำงี้ครับ
$\int \arctan x dx$
ให้ $u=\arctan x$ ได้ $du=\frac{1}{x^2+1}dx$ และ $dv=dx$ ได้ $v=x$
ดังนั้น $\int \arctan x dx=x\arctan x -\int \frac{x}{x^2+1}dx$
คิด $\int \frac{x}{x^2+1}dx$ ได้ $\int \frac{x}{x^2+1}\cdot \frac{d(x^2+1)}{2x}=\ln |x^2+1|+c$
เพราะฉะนั้น $\int \arctan x dx=x\arctan x - \ln |x^2+1|+c$ ครับ
ปล.ไปก่อนเน้อบายครับ
$$\int \arctan x dx=x\arctan x - \ln |x^2+1|+c$$
ถูกต้องน๊าคับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #219  
Old 18 เมษายน 2009, 00:50
gnopy's Avatar
gnopy gnopy ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 มกราคม 2006
ข้อความ: 516
gnopy is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Mastermander View Post
ไม่ใช่ครับ
เหอะๆสงสัยเมา ดันคิด $\frac{arctan\sqrt{2}+arctan{\frac{1}{\sqrt{2}}}}{\sqrt{2}}$ $=\sqrt{2}arctan(\sqrt{2})$ ซึ่งมันไม่ถูก สรุปมายืนยันคำตอบครับ
ได้
$\frac{arctan\sqrt{2}+arctan{\frac{1}{\sqrt{2}}}}{\sqrt{2}}$

ส่วนข้อสุดท้ายผมคิดได้ e ครับ


ปล กระทู้นี้ปั่นกันเร็วจริงๆ ผมเลยถือโอกาสมาฟื้นฟูความรู้สักหน่อย สู้ๆนะครับน้องๆ

18 เมษายน 2009 00:56 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ gnopy
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #220  
Old 18 เมษายน 2009, 01:59
JamesCoe#18's Avatar
JamesCoe#18 JamesCoe#18 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มีนาคม 2009
ข้อความ: 219
JamesCoe#18 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
$$\int x^2\sqrt{1-x^2}dx$$
let
$$x=\sin \theta, dx=\cos \theta d\theta$$
Substitute
$$\int \sin^2\theta \cos^2\theta d\theta=\frac{1}{4}\int 1-\cos^2(2\theta ) d\theta$$
$$=\frac{1}{4}[\int 1 d\theta -\int \cos^2 (2\theta ) d\theta ]$$
$$=\frac{\theta}{4}-\frac{1}{4}\int \frac{1}{2}(1+\cos(4\theta )) d\theta$$
$$=\frac{\theta}{4}-\frac{1}{8}\int 1+\cos(4\theta ) d\theta$$
$$=\frac{\theta}{4}-\frac{1}{8}[\int 1 d\theta + \frac{1}{4}\int \cos (4\theta ) d(4\theta)]$$
$$=\frac{\theta }{4}-\frac{1}{8}(\theta + \frac{\sin (4\theta)}{4})+c$$
$$=\frac{1}{4}\arcsin x -\frac{1}{8}(\arcsin x +\frac{\sin 4(\arcsin x)}{4})+c$$
ปล.ข้อที่แล้วดึงตัวร่วมยังไงหรอครับ
งงตรงบรรทัดที่ 3 คับมาไงน้อ ?? ยังไม่ถุกคับ

18 เมษายน 2009 02:02 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ JamesCoe#18
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #221  
Old 18 เมษายน 2009, 02:03
cenia cenia ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 ธันวาคม 2008
ข้อความ: 206
cenia is on a distinguished road
Default

ขอโทษที่ขัดจังหวะนะครับ คือผมไม่ค่อยแน่นเรื่องการอินทิเกรตมากๆ อยากถามทุกท่านหน่อยว่า

ถ้าเราเจอโจทย์อินทิเกรตที่ตัวเลข ยกกำลัง x เราต้องใ้ช้สูตรอย่างไรครับ (เหมือนโจทย์ข้อหนึ่ง) หามานานแล้ว ไปดูวิธีทำของ REP ด้านล่าง ก็เหมือนจะได้สูตรว่า

$\int\sqrt{a^x}dx=\frac{a^x}{\ln{a}}$

ใช่ไหมครับ ?

รบกวนด้วยครับ

18 เมษายน 2009 02:03 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ cenia
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #222  
Old 18 เมษายน 2009, 02:18
JamesCoe#18's Avatar
JamesCoe#18 JamesCoe#18 ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 26 มีนาคม 2009
ข้อความ: 219
JamesCoe#18 is on a distinguished road
Default

ตอบคุณ cenia

ใช่คับ $\int a^u=\frac{a^u}{lna}+C$

ต้องบวกค่าคงที่ C ด้วยนะคับเพราะเป็นอินทริกัลไม่จำกัดเขต

18 เมษายน 2009 02:19 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ JamesCoe#18
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #223  
Old 18 เมษายน 2009, 02:23
cenia cenia ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 29 ธันวาคม 2008
ข้อความ: 206
cenia is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ JamesCoe#18 View Post
ตอบคุณ cenia

ใช่คับ $\int a^udx=\frac{a^u}{lna}+C$

ต้องบวกค่าคงที่ C ด้วยนะคับเพราะเป็นอินทริกัลไม่จำกัดเขต
ขอบคุณมากครับ



งั้นขออณุญาติถามอีกคำถามในนี้เลยแล้วกันครับ

ถามว่า ด้านล่างถูกหรือไม่ครับ

$\int u dx = \int du $

รบกวนด้วยครับ

18 เมษายน 2009 03:26 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ cenia
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #224  
Old 18 เมษายน 2009, 10:16
kheerae's Avatar
kheerae kheerae ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 สิงหาคม 2008
ข้อความ: 117
kheerae is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
$$\int x^2\sqrt{1-x^2}dx$$
let
$$x=\sin \theta, dx=\cos \theta d\theta$$
Substitute
$$\int \sin^2\theta \cos^2\theta d\theta=\frac{1}{4}\int 1-\cos^2(2\theta ) d\theta$$
$$=\frac{1}{4}[\int 1 d\theta -\int \cos^2 (2\theta ) d\theta ]$$
$$=\frac{\theta}{4}-\frac{1}{4}\int \frac{1}{2}(1+\cos(4\theta )) d\theta$$
$$=\frac{\theta}{4}-\frac{1}{8}\int 1+\cos(4\theta ) d\theta$$
$$=\frac{\theta}{4}-\frac{1}{8}[\int 1 d\theta + \frac{1}{4}\int \cos (4\theta ) d(4\theta)]$$
$$=\frac{\theta }{4}-\frac{1}{8}(\theta + \frac{\sin (4\theta)}{4})+c$$
$$=\frac{1}{4}\arcsin x -\frac{1}{8}(\arcsin x +\frac{\sin 4(\arcsin x)}{4})+c$$
ปล.ข้อที่แล้วดึงตัวร่วมยังไงหรอครับ
ผมคิดว่าตรง
$$\sin(4\theta ) = 2\sin{2\theta}\cos{2\theta}$$

$$\sin(2\theta ) = 2\sin{\theta}\cos{\theta}$$

$$\cos(2\theta ) = \cos^{2}{\theta} - \sin^{2}{\theta}$$

$$\sin(4\theta ) = 4\sin{\theta}\cos{\theta}\left(\,\cos^{2}{\theta} - \sin^{2}{\theta}\right) $$

น่าจะทำให้อยู่ในรูปนี้ก่อนน่าจะดีกว่านะครับ แล้วค่อยแทนค่ากลับไปในสมการ
__________________
"ไม่มีอะไรดีไปกว่าการที่ได้ตื่นขึ้นมาอีกวัน" ผมเชื่อในปาฏิหารย์แต่ผมไม่เชื่อว่าปาฏิหารย์จะเกิดขึ้นถ้าผมไม่ทำ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #225  
Old 18 เมษายน 2009, 10:33
kheerae's Avatar
kheerae kheerae ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 07 สิงหาคม 2008
ข้อความ: 117
kheerae is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ JamesCoe#18 View Post
อ่าขอบคุณคับ

ข้อ1) improperintegral $\int_{0}^{\infty}\frac{dx}{(x+2)(x+3)}=lim_{a\to\infty}\int_0^a(\frac{1}{x+2}-\frac{1}{x+3})$

$\lim_{a\to\infty}ln\frac{|x+2|}{|x+3|} ]_{0}^{a}$

$\lim_{a\to\infty}\frac{|a+3|}{|a+2|}-lim_{a\to\infty}\frac{2}{3}$

$\frac{\infty}{\infty}-ln\frac{2}{3}$

indeterminatefrom $\frac{ติฟเศษ}{ดิฟส่วน}$

หา $lim^{a\to\infty}e^{ln\frac{a+3}{a+2}}$
จากบรรทัดนี้
$$ \lim_{a\to\infty}\ln\left|\,\frac{a+2}{a+3}\right| - \ln{\frac{2}{3}} = \lim_{a\to\infty}\ln\left|\,\frac{a}{a}\left(\,\frac{1+\frac{2}{a}}{1+\frac{3}{a}}\right) \right| - \ln{\frac{2}{3}}$$

$$ \lim_{a\to\infty}\ln\left|\,\frac{a+2}{a+3}\right| - \ln{\frac{2}{3}} = \ln\left|\,\frac{1+\frac{2}{\infty}}{1+\frac{3}{\infty}} \right| - \ln{\frac{2}{3}}$$

$$ \lim_{a\to\infty}\ln\left|\,\frac{a+2}{a+3}\right| - \ln{\frac{2}{3}} = \ln\left|\,\frac{1+0}{1+0} \right| - \ln{\frac{2}{3}}$$

$$ \lim_{a\to\infty}\ln\left|\,\frac{a+2}{a+3}\right| - \ln{\frac{2}{3}} = \ln\left|\,1 \right| - \ln{\frac{2}{3}}$$

$$ \lim_{a\to\infty}\ln\left|\,\frac{a+2}{a+3}\right| - \ln{\frac{2}{3}} = 0 - \ln{\frac{2}{3}}$$

$$ \lim_{a\to\infty}\ln\left|\,\frac{a+2}{a+3}\right| - \ln{\frac{2}{3}} = \ln{\frac{3}{2}}$$

ช่วยดูให้อีกทีนะครับ
__________________
"ไม่มีอะไรดีไปกว่าการที่ได้ตื่นขึ้นมาอีกวัน" ผมเชื่อในปาฏิหารย์แต่ผมไม่เชื่อว่าปาฏิหารย์จะเกิดขึ้นถ้าผมไม่ทำ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 23:49


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha