Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > พีชคณิต
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #181  
Old 03 กันยายน 2007, 23:17
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tatari/nightmare View Post
$(\because a^2=2549b \wedge a^2>0,2549>0 \therefore b>0)$
$a,b$ เป็นจำนวนเชิงซ้อนทำไมถึงสรุปว่า $a^2>0$ ได้ครับ
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #182  
Old 03 เมษายน 2008, 17:38
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ tatari/nightmare View Post
กำลังติดลมครับ
50.ให้ $a,b$ เป็นจำนวนเชิงซ้อนซึ่งไม่เป็น0 และ$\alpha ,\beta$ เป็นรากของสมการ $x^2+ax+b=0$
ถ้า $a^2=2549b$ จงพิสูจน์ว่า $\mid\alpha+\beta\mid=\mid\alpha\mid+\mid\beta\mid$
ผมพิสูจน์ได้เมื่อ $a,b\in\mathbb{R}$ แต่ถ้า $a,b\in\mathbb{C}$ ไม่รู้ว่าจะพิสูจนยังไง
ที่ผมได้ก็คือ $\alpha \beta=b$ และ $\alpha^2 + \beta^2=2547b$ รบกวนท่านอื่นๆชี้แนะด้วยนะครับ
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #183  
Old 09 เมษายน 2008, 15:19
Anarist's Avatar
Anarist Anarist ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 18 ตุลาคม 2004
ข้อความ: 58
Anarist is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ kanakon View Post
ผมพิสูจน์ได้เมื่อ $a,b\in\mathbb{R}$ แต่ถ้า $a,b\in\mathbb{C}$ ไม่รู้ว่าจะพิสูจนยังไง
ที่ผมได้ก็คือ $\alpha \beta=b$ และ $\alpha^2 + \beta^2=2547b$ รบกวนท่านอื่นๆชี้แนะด้วยนะครับ
ช่วยกันดูนะครับ จาก $\alpha^2 + \beta^2=2547b$ จะได้ว่า $\alpha^2 + \beta^2=2547\alpha \beta$
ย้ายข้าง $\alpha^2 -2547\alpha \beta + \beta^2=0$
แยกตัวประกอบ $(\alpha - z \beta)(\alpha - z^{-1} \beta)=0$ ,where z satisfies $z + 1/z = 2547$.
Since $2547 \geq 2$, we can see that z is real,positive and $\alpha = r \beta$ for r = z or 1/z which is real,positive. Therefore, $|\alpha+\beta| = |r\beta + \beta| = |\beta||r+1|=|\beta|(r+1)=|r \beta| + |\beta| = |\alpha|+|\beta|$
ทำเสร็จแล้วก็เพิ่งเห็นว่าเอา $\beta$ หารสมการทั้งหมดน่าจะทำให้กระทัดกว่านี้นิดนึง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #184  
Old 19 เมษายน 2008, 20:37
kanakon's Avatar
kanakon kanakon ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 31 ตุลาคม 2006
ข้อความ: 523
kanakon is on a distinguished road
Default

มาเติมโจทย์ครับ

51. Let $a,b,c$ is nonzero real numbers such that $a+b+c\not=0$ and $$\frac{1}{a}+\frac{1}{b}+\frac{1}{c}=\frac{1}{a+b+c}$$
Prove that for all odd integers $n$ $$\frac{1}{a^n}+\frac{1}{b^n}+\frac{1}{c^n}=\frac{1}{a^n+b^n+c^n}$$
__________________
ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ

$$|I-U|\rightarrow \infty $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #185  
Old 20 เมษายน 2008, 00:09
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ kanakon View Post
มาเติมโจทย์ครับ

51. Let $a,b,c$ is nonzero real numbers such that $a+b+c\not=0$ and $$\frac{1}{a}+\frac{1}{b}+\frac{1}{c}=\frac{1}{a+b+c}$$
Prove that for all odd integers $n$ $$\frac{1}{a^n}+\frac{1}{b^n}+\frac{1}{c^n}=\frac{1}{a^n+b^n+c^n}$$

__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #186  
Old 03 สิงหาคม 2008, 11:34
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

เติมโจทย์ึีครับ

52. ให้ $x,y,z$ เ้ป็นจำนวนจริง โดยที่ $xyz=1$ จงหาค่าของ
$$\frac{1+2x+3xy}{1+x+xy}+\frac{1+2y+3yz}{1+y+yz}+\frac{1+2z+3zx}{1+z+zx}$$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #187  
Old 03 สิงหาคม 2008, 12:40
RoSe-JoKer's Avatar
RoSe-JoKer RoSe-JoKer ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤศจิกายน 2007
ข้อความ: 390
RoSe-JoKer is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
เติมโจทย์ึีครับ

52. ให้ $x,y,z$ เ้ป็นจำนวนจริง โดยที่ $xyz=1$ จงหาค่าของ
$$\frac{1+2x+3xy}{1+x+xy}+\frac{1+2y+3yz}{1+y+yz}+\frac{1+2z+3zx}{1+z+zx}$$
ตอบ 6 ครับ
Normalize เข้าไปทีเดียวจบเลยเพราะโจทย์จะกลายเป็น
$\sum_{cyc}\frac{bc+2ac+3ab}{ab+bc+ca}$ ซึ่งเมื่อบวกกันแล้วมีค่าเท่ากับ 6
__________________
Rose_joker @Thailand
Serendipity

25 ตุลาคม 2008 01:56 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ RoSe-JoKer
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #188  
Old 03 สิงหาคม 2008, 12:46
RoSe-JoKer's Avatar
RoSe-JoKer RoSe-JoKer ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤศจิกายน 2007
ข้อความ: 390
RoSe-JoKer is on a distinguished road
Default

เพิ่มโจทย์ครับ
53. (ขอ Solution ที่ประมาณว่าแทน $x=0,1,...,100 (mod101)$ แล้วบอกว่ามัน bijective นะครับ)
พิจารณาพหุนาม
$T(x)=x^3+14x^2-2x+1$
แสดงให้เห็นว่าจะมีจำนวนนับ n ที่ $n>1$ ที่ $T^{(n)}(x)-x$ ถูกหารด้วย 101 ลงตัวสำหรับทุกจำนวนเต็ม x โดยที่ $T^{(n)}(x)=T(T(T...T(x)...)))$ มี T n ตัว
__________________
Rose_joker @Thailand
Serendipity

03 สิงหาคม 2008 22:03 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ RoSe-JoKer
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #189  
Old 03 สิงหาคม 2008, 21:34
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ RoSe-JoKer View Post
เพิ่มโจทย์ครับ
53. (ขอ Solution ที่ประมาณว่าแทน $x=0,1,...,100 (mod101)$ แล้วบอกว่ามัน bijective นะครับ)
พิจารณาพหุนาม
$P(x)=x^3+14x^2-2x+1$
แสดงให้เห็นว่าจะมีจำนวนนับ n ที่ $n>1$ ที่ $T^{(n)}(x)-x$ ถูกหารด้วย 101 ลงตัวสำหรับทุกจำนวนเต็ม x โดยที่ $T^{(n)}(x)=T(T(T...T(x)...)))$ มี T n ตัว
P = T
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #190  
Old 03 สิงหาคม 2008, 22:03
RoSe-JoKer's Avatar
RoSe-JoKer RoSe-JoKer ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤศจิกายน 2007
ข้อความ: 390
RoSe-JoKer is on a distinguished road
Default

เออครับ โทษทีครับแก้ไขให้แล้วนะครับ
__________________
Rose_joker @Thailand
Serendipity
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #191  
Old 03 ตุลาคม 2008, 10:51
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ RoSe-JoKer View Post
เพิ่มโจทย์ครับ
53. (ขอ Solution ที่ประมาณว่าแทน $x=0,1,...,100 (mod101)$ แล้วบอกว่ามัน bijective นะครับ)
พิจารณาพหุนาม
$T(x)=x^3+14x^2-2x+1$
แสดงให้เห็นว่าจะมีจำนวนนับ n ที่ $n>1$ ที่ $T^{(n)}(x)-x$ ถูกหารด้วย 101 ลงตัวสำหรับทุกจำนวนเต็ม x โดยที่ $T^{(n)}(x)=T(T(T...T(x)...)))$ มี T n ตัว
ให้ $g(x) = f(x) \pmod{101}$

หากพิจารณา orbit ของแต่ละจุดที่ส่งโดย $g$ จะได้ดังนี้

$0 \to 1\to 14\to 7\to 6\to 2\to 61\to 93\to 98\to 5\to 62\to 30\to 50\to$

$18\to 31\to 57\to 84\to 77\to 46\to 13\to 94\to 55\to 51\to 92\to $

$20\to 27\to 41\to 60\to 45\to 4\to 79\to 11\to 75\to 21\to 42\to 24\to$

$25\to 86\to 8\to 80\to 87\to 29\to 49\to 70\to 88\to 95\to 99\to 53\to $

$36\to 89\to 10\to 58\to 97\to 68\to 81\to 65\to 43\to 66\to 0$


$3\to 47\to 23\to 35\to 63\to 64\to 100\to 16\to 74\to 72\to 69\to 15\to $

$32\to 76\to 44\to 91\to 17\to 38\to 71\to 3$


$9\to 28\to 48\to 40\to 67\to 78\to 33\to 12\to 85\to 26\to 22\to 9$


$19\to 59\to 82\to 52\to 96\to 34\to 73\to 90\to 83\to 54\to 19$


$37\to 56\to 37$


$39\to 39$

เมื่อ $i\to j$ หมายถึง $g(i)=j$

จากการส่งที่แจกแจงมาทั้งหมดเราจะได้ว่า $g$ เป็น permutation

ให้คาบหมายถึงจำนวนครั้งของการส่งที่เริ่มจากจุดหนึ่งแล้วกลับมาที่จุดเดิม

เช่น $0$ มีคาบเป็น $58$ ดังนั้น $g^{58}(0)=0$ ในทำนองเดียวกัน

$g^{58}(1)=1$ ด้วย (ทำไม?)

ดังนั้นเราจะได้ว่าคาบของแต่ละจุดจะเป็น $58,19,11,10,2,1$

เนื่องจาก $[58,19,11,10,2,1]=60610$

เราจะได้ว่า $g^{60610}(x)=x$ ทุกค่า $x=0,…,100$

ดังนั้น $T^{60610}(x)\equiv x\pmod{101}$ ทุกจำนวนเต็ม $x$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #192  
Old 18 พฤษภาคม 2010, 17:36
the WoRLD's Avatar
the WoRLD the WoRLD ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 18 พฤษภาคม 2010
ข้อความ: 46
the WoRLD is on a distinguished road
Default

51. Let $a,b,c$ is nonzero real numbers such that $a+b+c\not=0$ and $$\frac{1}{a}+\frac{1}{b}+\frac{1}{c}=\frac{1}{a+b+c}$$
Prove that for all odd integers $n$ $$\frac{1}{a^n}+\frac{1}{b^n}+\frac{1}{c^n}=\frac{1}{a^n+b^n+c^n}$$[/quote]

solution:คูณสมการที่ให้มาทั้งสองฝั่งด้วย$abc(a+b+c)$จะได้$$ab(a+b+c)+bc(a+b+c)+ca(a+b+c)=abc$$ $$3abc+a^2b+b^2a+b^2c+c^2b+c^2a+a^2c=abc$$ $$abc+a^2b+b^2a+b^2c+c^2b+c^2a+a^2c+abc=0$$ $$(a+b)(b+c)(c+a)=0$$ จากสมการที่ได้ symmetric โดยไม่เสียนัยสำคัญให้$a+b=0$ ได้ $a=-b$ จะได้ $a^n=-b^n$ $$\frac{1}{c^n}=\frac{1}{c^n}$$ $$\frac{1}{c^n}=\frac{1}{a^n+b^n+c^n}$$ $$\frac{1}{a^n}+\frac{1}{b^n}+\frac{1}{c^n}=\frac{1}{a^n+b^n+c^n}$$
__________________
0 the fool
1 the magician 2 the high priestess 3 the empress 4 the emperor 5 the hierophant 6 the lovers 7 the chariot
8 the hermit
9 the justice 10 thewheel of fortune 11 the strenght
12 the hanged man 13 the death 14 the temperance 15 the devil 16 the tower 17 the star 18 the moon
19 the sun
20 the judgement
21 The WoRLD
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #193  
Old 13 กุมภาพันธ์ 2015, 20:32
mathph's Avatar
mathph mathph ไม่อยู่ในระบบ
เริ่มฝึกวรยุทธ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 สิงหาคม 2014
ข้อความ: 18
mathph is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ nooonuii View Post
ในเมื่อไม่มีใครตั้ง ผมก็ขอปั่นกระทู้ต่อ

39. จงพิสูจน์ว่าระบบสมการ
$$ \begin{array}{rcl} \dfrac{1}{x}+\dfrac{1}{y}+\dfrac{1}{z} & = & 1 \\ x\, + y\, +\, z & = & 2 \\ x^2+y^2+z^2 & = & 3 \end{array}$$
ไม่มีคำตอบในระบบจำนวนจริง
ขอพิสูจน์แบบคนไม่มีความรู้นะครับ(ช่วยแนะด้วยนะครับ โง่เลขสุดๆ)
จากสมการแรก $xy+yz+zx=xyz$ จากสมการล่างสุดและสมการตรงกลางจะได้ $xyz=\dfrac{1}{2}$
เอาxy+yz+zx กำลังสองจะได้ $\dfrac{1}{4}=x^2y^2+y^2z^2+z^2x^2+2(\dfrac{1}{4})(2)$
แต่กลับได้$x^2y^2+y^2z^2+z^2x^2=-0.75<0$ ดังนั้นx,y,z ไม่ใช่จำนวนจริงครับ
__________________
はるこ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #194  
Old 13 กุมภาพันธ์ 2015, 21:58
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

ไม่ได้เล่นกันนานมากแล้วนะครับเนี่ย งั้นต่อให้ครับ

40. ให้ $a,b,c$ เป็นจำนวนเชิงซ้อนซึ่งสอดคล้องระบบสมการ

$(a+1)(b+1)(c+1)=1$

$(a+2)(b+2)(c+2)=2$

$(a+3)(b+3)(c+3)=3$

จงหาค่าของ $(a+4)(b+4)(c+4)$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

13 กุมภาพันธ์ 2015 21:58 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #195  
Old 13 กุมภาพันธ์ 2015, 23:42
Beatmania's Avatar
Beatmania Beatmania ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤษภาคม 2011
ข้อความ: 279
Beatmania is on a distinguished road
Default

ลองดูหน่อยแล้วกันครับ

พิจารณาพหุนามโมนิก $P(x)$ ที่มีรากเป็น $-a,-b,-c$ จะได้ว่า $P(x)=(x+a)(x+b)(x+c)$

จากเงื่อไข เราได้ว่า $P(1)=1,P(2)=2,P(3)=3$

แสดงว่าพหุนาม $Q(x)=P(x)-x$ มีรากคือ $1,2,3$ ดังนั้น

$P(x)=Q(x)+x=(x-1)(x-2)(x-3)+x$

โจทย์ต้องการ $P(4)$ ซึ่งเท่ากับ $(4-1)(4-2)(4-3)+4=10$

ขอลองปล่อยโจทย์ดูมั่งครับ

41. ถ้า $\alpha(x)$ เป็นพหุนามโดยที่มีคุณสมบัติว่า

ถ้า $x$ เป็นจำนวนอตรรกยะแล้ว $\alpha(x)$ เป็นจำนวนอตรรกยะ

จงแสดงว่า $deg[\alpha]\leq 1$
__________________
I'm Back

14 กุมภาพันธ์ 2015 08:29 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
เหตุผล: เติมเลขข้อให้ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Algebra คืออะไร [C++] ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 15 30 มกราคม 2021 11:31
โจทย์ Algebra Crazy pOp ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 1 28 กรกฎาคม 2020 03:14
ปัญหา MOdern Algebra อีกแล้วครับ เรียวคุง พีชคณิต 1 09 กันยายน 2006 22:02
ช่วยแสดงข้อนี้ให้ดูทีครับ (Modern Algebra) เรียวคุง พีชคณิต 3 06 กันยายน 2006 15:27
คำถามพีชคณิตเชิงเส้น Linear Algebra M@gpie พีชคณิต 4 17 พฤษภาคม 2006 10:31


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 00:07


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha