Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น > ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #16  
Old 18 มกราคม 2013, 18:55
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

21. ให้
$A = \sqrt[3]{x} , B = \sqrt[3]{20-x}$

ได้ว่า $A+B = 2$

$\therefore A^3+B^3 = 20$

$(A+B)^3-3AB(A+B) = 20$

$8-6AB = 20 $

$AB = -2 $

$\sqrt[3]{x}\sqrt[3]{20-x} = -2$

$x(20-x) = -8$

$20x-x^2=-8$

$x^2-20x-8 = 0$

$\alpha$ และ $\beta$ เป็นคำตอบของสมการ

$\therefore \alpha+\beta = 20$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #17  
Old 18 มกราคม 2013, 19:31
Scylla_Shadow's Avatar
Scylla_Shadow Scylla_Shadow ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 1,151
Scylla_Shadow is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ กิตติ View Post
21.$(\sqrt[3]{x})^3+(\sqrt[3]{20-x} )^3=20$
$(\sqrt[3]{x}+\sqrt[3]{20-x}) )(\sqrt[3]{x^2}-\sqrt[3]{x^2(20-x)^2} +\sqrt[3]{(20-x)^2} )=20$
$(\sqrt[3]{x^2}-\sqrt[3]{x^2(20-x)^2} +\sqrt[3]{(20-x)^2} )=10$.......(1)
$(\sqrt[3]{x}+\sqrt[3]{20-x})^2=4$
$\sqrt[3]{x^2}+2\sqrt[3]{x^2(20-x)^2} +\sqrt[3]{(20-x)^2} =4 $..........(2)
(2)-(1)
$3\sqrt[3]{x^2(20-x)^2}=-6$
$\sqrt[3]{x^2(20-x)^2}=-2$
$x^2(20-x)^2+8=0$
$x^2(400-40x+x^2)+8=0$
$x^4-40x^3+400x^2+8=0$
รากคำตอบไเป็นจำนวนเชิงซ้อนทั้งสี่ค่า ไม่รู้ว่าผมทำอะไรผิดหรือเปล่า เดี๋ยวขอเช็ควิธีทำในกระดาษอีกที
$(\sqrt[3]{x^2}-$$\sqrt[3]{x^2(20-x)^2}$$ +\sqrt[3]{(20-x)^2} )=10$.......(1)

$\sqrt[3]{x^2}+$$2\sqrt[3]{x^2(20-x)^2}$ $+\sqrt[3]{(20-x)^2} =4 $..........(2)

ผมว่าตรงสีแดงมันแปลกๆครับ ผมอาจจะจำสูตรผิดนะครับ ผมยิ่งเมาๆอยู่
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #18  
Old 18 มกราคม 2013, 22:31
กิตติ's Avatar
กิตติ กิตติ ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤศจิกายน 2009
ข้อความ: 2,723
กิตติ is on a distinguished road
Default

ผมเมาเองครับ ในวงเล็บในรูทต้องเป็นกำลังหนึ่ง
แก้แล้วครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก
ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม
"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย
ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน)

18 มกราคม 2013 22:36 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #19  
Old 19 มกราคม 2013, 02:19
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

13. $\sqrt{x^2-3\sqrt{2}x+9}+\sqrt{x^2-4\sqrt{2}x+16} = 5$

ให้ $a = \sqrt{x^2-3\sqrt{2}x+9}, b = \sqrt{x^2-4\sqrt{2}x+16}$

$a^2-b^2 = \sqrt{2}x-7$

$a+b = 5$ ได้ $a-b = \frac{\sqrt{2}x-7}{5}$

จะได้ $10a = \sqrt{2}{x}+18 $

$10\sqrt{x^2-3\sqrt{2}x+9} = \sqrt{2}x+18$

$100x^2-300\sqrt{2}x+900 = 2x^2+36\sqrt{2}x+324$

$98x^2 - 336\sqrt{2}x+576 = 0 $

$x^2 - \frac{24\sqrt{2}}{7}x+\frac{576}{98} = 0 $

$(x-\frac{12\sqrt{2}}{7})^2 = 0 $

$\therefore x = \frac{12\sqrt{2}}{7}$

ได้ $7x^2 - 5\sqrt{2}x+3 = 7(\frac{288}{49})-5\sqrt{2}(\frac{12\sqrt{2}}{7})+3 = 27$

19 มกราคม 2013 02:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Euler-Fermat
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #20  
Old 19 มกราคม 2013, 02:23
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

17. $\sqrt{\sqrt{3}-x} = x\sqrt{\sqrt{3}+x}$

$\sqrt{3}-x = x^2(\sqrt{3}+x)$

$\sqrt{3}-x = \sqrt{3}x^2+x^3.......(1)$

นำ $3\sqrt{3}$ คูณตลอด $(1)$

ได้ $9-3\sqrt{3}x = 9x^2+3\sqrt{3}x^3$

บวกด้วย $3\sqrt{3}x+1$ ตลอดสมการ

ได้ $10 = 1+3\sqrt{3}x+9x^2+3\sqrt{3}x^3 = (1+\sqrt{3}x)^3$

$\therefore (\sqrt{3}x+1)^3 = 10$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #21  
Old 19 มกราคม 2013, 09:48
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

Name:  124.png
Views: 1863
Size:  54.4 KB
$A\hat DB=140-2a$

$2b+140-2a=180\Rightarrow b-a=20.....(1)$

$b=a+x$ แทนค่าในสมการ (1) จะได้ $x=20 \therefore A\hat BE=20^{\circ} $
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #22  
Old 19 มกราคม 2013, 10:59
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

อีกวิธีคิดของข้อ2

มี2กรณี

1.มี2และ3อย่างละตัว อีก1หลักก็จะเหลือให้ใส่ได้ 8ตัว แต่ละจำนวนซึ่งไม่มีตัวซ้ำจะสลับได้ $3!=6$
ยกเว้น0 เป็นหลักร้อยไม่ได้ ดังนั้นจะสร้างได้ทั้งหมด $(7\times6)+(1\times 4)=46$ วิธี

2.มีซ้ำ 2หรือ3 อีก 1ตัว ดังนั้น1 ช่องที่เหลือ ตัวเลขที่จะนำมาใส่ได้คือ2หรือ3 จะได้สร้างได้ $\frac{3!}{2!}\times 2=6$ วิธี

ตอบ 46+6= 52 วิธี
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #23  
Old 19 มกราคม 2013, 11:01
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

อ้าว! นี่มันรอบ2ของปีก่อนนี่นานึกว่าล่าสุด
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #24  
Old 19 มกราคม 2013, 18:59
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

30.
$\sqrt{n+12\sqrt{5}}-\sqrt{n-12\sqrt{5}} $

$\sqrt{n+2\sqrt{180}}-\sqrt{n-2\sqrt{180}}$

ตัวประกอบของ $180 = 1,2,3,4,5,6,9,10,12,15,18,20,30,36,45,60,90,180$

$\therefore n = 181,49,29$ ที่ทำให้ $\sqrt{n+12\sqrt{5}}-\sqrt{n-12\sqrt{5}}$ เป็นจำนวนเต็ม

ผลรวม ของ $n = 259 $

19 มกราคม 2013 18:59 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Euler-Fermat
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #25  
Old 19 มกราคม 2013, 19:03
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

10. ให้ จำนวนคี่ สามจำนวนคือ $x-2 , x , x+2$

ผลบวกกำลังสองของแต่ละจำนวนคือ $x^2-4x+4+x^2+x^2+4x+4 = 3x^2+8 $

เท่ากับเลข 4 หลักที่เหมือนกันหมด คือ $\overline{aaaa}$

$3x^2+8 = 1111(a)$

$1111(a) \equiv a \equiv 2 (mod 3) $

therefore $a = 2,5,8$

$\therefore$ จำนวน $4$ หลัก คือ $5555$ เท่านั้น ที่ใช้ได้

19 มกราคม 2013 19:03 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Euler-Fermat
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #26  
Old 19 มกราคม 2013, 20:22
ปากกาเซียน's Avatar
ปากกาเซียน ปากกาเซียน ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 กันยายน 2011
ข้อความ: 227
ปากกาเซียน is on a distinguished road
Default

$21.a+b=2, a^3+b^3=20 ได้ a^2-ab+b^2=10 จาก a^2+2ab+b^2=4 ได้ 3ab=-6, ab=-2 ดังนั้น$ $a+\frac{-2}{a}=2 ,a^2-2=2a ,a=1\pm \sqrt{3}, \alpha +\beta =20 $
__________________
I'm god of mathematics.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #27  
Old 19 มกราคม 2013, 20:32
ปากกาเซียน's Avatar
ปากกาเซียน ปากกาเซียน ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 กันยายน 2011
ข้อความ: 227
ปากกาเซียน is on a distinguished road
Default

$17.จัดรูปได้ (x+\frac{1}{\sqrt{3} } )=\sqrt{3} +\frac{1}{3\sqrt{3} } $
$ดังนั้น (\sqrt{3}x+1 )^3=10$
__________________
I'm god of mathematics.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #28  
Old 19 มกราคม 2013, 20:41
ปากกาเซียน's Avatar
ปากกาเซียน ปากกาเซียน ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 กันยายน 2011
ข้อความ: 227
ปากกาเซียน is on a distinguished road
Default

$4.a+b+c=7,\frac{1}{a+b} +\frac{1}{b+c} +\frac{1}{c+a}=0.7 นำ2สมการมาคูณกันแล้วลบ3จะได้คำตอบ
1.9$
__________________
I'm god of mathematics.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #29  
Old 19 มกราคม 2013, 20:53
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

19.
$A(a,b) , B(c,d)$

$AB$ มีจุดศูนย์กลางคือ จุด $(0,0)$

$\therefore \dfrac{a+c}{2} = 0 ,\dfrac{b+d}{2} = 0$

ได้ $a = -c , b = -d$

ดังนั้นได้ว่า $b = 3a^2+2012a-3$

$d = 3c^2+2012c-3 = 3a^2-2012a-3$

$3a^2+2012a-3 = -3a^2+2012a+3$

$6a^2 = 6$

$a^2 = 1$

$a = 1,-1$ แต่ $A$ อยู่ในควอดรันต์ $1$

$\therefore A(1,2012)$

ได้ $a+b = 2013$

19 มกราคม 2013 20:53 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Euler-Fermat
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #30  
Old 19 มกราคม 2013, 21:02
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

14.$n(S) = 3^5$

$n(E) = \dfrac{5!}{2!2!} = 30$

$P(E) = a = \dfrac{30}{243} $

$\therefore \dfrac{10}{a} = 81$

20.$n(S) = 3^{12}$

$n(E) = 3^{12} - (8*3^{10})$

$P(E) = P = \dfrac{3^{12}-(8*3^{10})}{3^{12}} = \dfrac{3^{10}}{3^{12}} = \dfrac{1}{9}$

$\therefore 144P = 144*\dfrac{1}{9} = 16$

19 มกราคม 2013 21:03 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Euler-Fermat
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
ราชภัฏพระนครครั้งที่ 13 ตุลาคม 2555 banker ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย 12 26 ตุลาคม 2012 17:58
ราชภัฏพระนครครั้งที่13 ตุลาคม 2555 banker ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น 25 21 ตุลาคม 2012 11:26
ข้อสอบ กพ คณิตศาสตร์ มัธยมต้น 2555 ส่วนเรขาคณิต ทิดมี สึกใหม่ ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น 29 07 ตุลาคม 2012 08:54
ประกาศผลสอบ สอวน ศูนย์ มช 2555 แล้ว มีใครติดบ้างคับ ?? alvamar ข่าวคราวแวดวง ม.ปลาย 0 20 กันยายน 2012 00:22
มอ.วิชาการ ปี 2555 catengland ข้อสอบในโรงเรียน ม.ปลาย 27 27 สิงหาคม 2012 20:27


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 04:39


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha