Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น > ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #31  
Old 27 มีนาคม 2013, 14:09
Hero13's Avatar
Hero13 Hero13 ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 ธันวาคม 2012
ข้อความ: 34
Hero13 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ เทพเวียนเกิด View Post
ตอบ $\frac{1}{2}$ ครับ
ผมได้ $-\frac{1}{2}$อะครับ เเต่ผมว่าเพื่อนผมน่าจะจดมาผิด ผมว่าน่าจะเป็น $P(n+1)=(-1)^{n+1}n+3P(n)$ มากกว่า
__________________
ปีหน้าเอาใหม่ fight สมาคมคณิต!

27 มีนาคม 2013 14:10 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Hero13
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #32  
Old 27 มีนาคม 2013, 19:12
เทพเวียนเกิด's Avatar
เทพเวียนเกิด เทพเวียนเกิด ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 มิถุนายน 2012
ข้อความ: 191
เทพเวียนเกิด is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Hero13 View Post
ผมได้ $-\frac{1}{2}$อะครับ เเต่ผมว่าเพื่อนผมน่าจะจดมาผิด ผมว่าน่าจะเป็น $P(n+1)=(-1)^{n+1}n+3P(n)$ มากกว่า
ครับ ถึงเปลี่ยนโจท ก็ยังไม่ยากเกินไปครับ
__________________
ปีนี้ ต้องไม่พลาด สู้เพื่อ มศว ปทุมวัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #33  
Old 28 มีนาคม 2013, 20:53
pogpagasd pogpagasd ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2012
ข้อความ: 174
pogpagasd is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Hero13 View Post
ผมได้ $-\frac{1}{2}$อะครับ เเต่ผมว่าเพื่อนผมน่าจะจดมาผิด ผมว่าน่าจะเป็น $P(n+1)=(-1)^{n+1}n+3P(n)$ มากกว่า
ขอวิธีคิดหน่อยได้ปะคับ งงมาก
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #34  
Old 29 มีนาคม 2013, 13:29
Hero13's Avatar
Hero13 Hero13 ไม่อยู่ในระบบ
หัดเดินลมปราณ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 19 ธันวาคม 2012
ข้อความ: 34
Hero13 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ pogpagasd View Post
ขอวิธีคิดหน่อยได้ปะคับ งงมาก
เเทนค่า1-99 เเล้วเอามาบวกกันหมด จะได้อนุกรมเลขคณิตครับผม
__________________
ปีหน้าเอาใหม่ fight สมาคมคณิต!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #35  
Old 07 เมษายน 2013, 12:02
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Hero13 View Post
วงกลมAเเละวงกลมBตัดกันที่ P,R PAR=90องศา พื้นที่ซ้อนทับของ วงกลมAกับB=112 จงหาความยาวAB
โจทย์ข้อนี้ไม่น่าจะครบถ้วน ให้มาเท่านี้ ค่าของABซึ่งคิดว่าเป็นจุดศก.ของวงกลมทั้งสองมีได้หลายค่า
แต่ถ้าวงกลมA,Bรัศมีเท่ากัน ระยะAB=14/3
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #36  
Old 15 เมษายน 2013, 16:08
Pheng Pheng ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 เมษายน 2013
ข้อความ: 55
Pheng is on a distinguished road
Default

ข้อแรก สมมุติให้ส่วนสูงของพีรมิต=h รัศมีทรงกระบอก=r
จะได้ปริมาตรพีรมิต= 1/3xhx2rx2r
จะได้ปริมาตรทรงกระบอก= rxrx3h
ดังนั้นปริมาตรพีรมิตต่อปริมาตรทรงกระบอก= 4ต่อ9
__________________
ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #37  
Old 15 เมษายน 2013, 21:30
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Pheng View Post
ข้อแรก สมมุติให้ส่วนสูงของพีรมิต=h รัศมีทรงกระบอก=r
จะได้ปริมาตรพีรมิต= 1/3xhx2rx2r
จะได้ปริมาตรทรงกระบอก= rxrx3h
ดังนั้นปริมาตรพีรมิตต่อปริมาตรทรงกระบอก= 4ต่อ9

ค่า $\pi$ หายไปไหนหรอครับ ในปริมาตรทรงกระบอก
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #38  
Old 16 เมษายน 2013, 09:24
เทพเวียนเกิด's Avatar
เทพเวียนเกิด เทพเวียนเกิด ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 มิถุนายน 2012
ข้อความ: 191
เทพเวียนเกิด is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Pheng View Post
ข้อแรก สมมุติให้ส่วนสูงของพีรมิต=h รัศมีทรงกระบอก=r
จะได้ปริมาตรพีรมิต= 1/3xhx2rx2r
จะได้ปริมาตรทรงกระบอก= rxrx3h
ดังนั้นปริมาตรพีรมิตต่อปริมาตรทรงกระบอก= 4ต่อ9
ตกม้าตายตอนจบ ลืมค่าพาย
__________________
ปีนี้ ต้องไม่พลาด สู้เพื่อ มศว ปทุมวัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #39  
Old 21 เมษายน 2013, 17:18
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Hero13 View Post
เพิ่มเติมนะครับ
$P(n+1)=(-1)^{n+1}+3P(n)$ โดย $P(1)=P(100)$ จงหาค่าของ $P(1)+P(2)+...P(99)$
$P_2=1+3P_1$

$P_3=-1+3+3^2P_1$

$P_4=1-3+3^2+3^3P_1$

$P_5=-1+3-3^2+3^3+3^4P_1$
.
.
.
$P_{99}=-1+3-3^2+3^3-...+3^{97}+3^{98}P_1$

$P_{100}=1-3+3^2-3^3+3^4-...+3^{98}+3^{99}P_1$

โจทย์ให้หา $\sum_{n = 1}^{99}P_{(n)}$

$\sum_{n = 1}^{99}P_{(n)}=\sum_{n = 1}^{100}P_{(n)}-P_{100}$

$\sum_{n = 1}^{100}P_{(n)}=1+3^2+3^4+...+3^{98}+P_1+3P_1+3^2P_1+...3^{99}P_1$

$\sum_{n = 1}^{99}P_{(n)}=3+3^3+3^5+...+3^{9+7}+P_1+3P_1+3^2P_1+...+3^{98}P_1$

$P_1=P_{100}=\sum_{n = 1}^{100}P_{(n)}-\sum_{n = 1}^{99}P_{(n)}$

$\quad\quad\quad P_1=3^{99}P_1+2(3^{97}+3^{95}+...+3^3+3)+1$

$\Longrightarrow (3^{99}-1)P_1=-[1+2(3^{97}+3^{95}+...+3^3+3)]$

$\Longrightarrow P_1=\frac{-[1+2(3^{97}+3^{95}+...+3^3+3)]}{(3^{99}-1)}$

ดังนั้น $\sum_{n = 1}^{99}P_{(n)}=(3+3^3+3^5+...+3^{95}+3^{97})-\frac{(1+3+3^2+3^3+...3^{98})(1+2(3^{97}+3^{95}+...+3^3+3)}{2(3^{98}+3^{97}+...+3^2+3+1)}=-\frac{1}{2}$

หรือให้กระชับขึันดังข้างล่าง

$P_2=1+3P_1$

$P_3=-1+3P_2$

$P_4=1+3P_3$
.
.
.
$P_{99}=-1+3P_{98}$

$P_{100}=1+3P_{99}$

$P_1+P_2+...+P_{99}=P_2+...+P_{99}+P_{100}$ เพราะ $P_1=P_{100}$

เนื่องจาก $P_2+...+P_{100}=1+3(P_1+P_2+...+P_{99})$

$\therefore P_1+P_2+...+P_{99}=-\frac{1}{2}$

26 เมษายน 2013 07:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ artty60
เหตุผล: เปลี่ยนแบบให้กระชับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #40  
Old 22 เมษายน 2013, 17:50
เทพเวียนเกิด's Avatar
เทพเวียนเกิด เทพเวียนเกิด ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 23 มิถุนายน 2012
ข้อความ: 191
เทพเวียนเกิด is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ artty60 View Post
$P_2=1+3P_1$

$P_3=-1+3+3^2P_1$

$P_4=1-3+3^2+3^3P_1$

$P_5=-1+3-3^2+3^3+3^4P_1$
.
.
.
$P_{99}=-1+3-3^2+3^3-...+3^{97}+3^{98}P_1$

$P_{100}1-3+3^2-3^3+3^4-...+3^{98}+3^{99}P_1$

โจทย์ให้หา $\sum_{n = 1}^{99}P_{(n)}$

$\sum_{n = 1}^{99}P_{(n)}=\sum_{n = 1}^{100}P_{(n)}-P_{100}$

$\sum_{n = 1}^{100}P_{(n)}=1+3^2+3^4+...+3^{98}+P_1+3P_1+3^2P_1+...3^{99}P_1$

$\sum_{n = 1}^{99}P_{(n)}=3+3^3+3^5+...+3^{9+7}+P_1+3P_1+3^2P_1+...+3^{98}P_1$

$P_1=P_{100}=\sum_{n = 1}^{100}P_{(n)}-\sum_{n = 1}^{99}P_{(n)}$

$\quad\quad\quad P_1=3^{99}P_1+2(3^{97}+3^{95}+...+3^3+3)+1$

$\Longrightarrow (3^{99}-1)P_1=-[1+2(3^{97}+3^{95}+...+3^3+3)]$

$\Longrightarrow P_1=\frac{-[1+2(3^{97}+3^{95}+...+3^3+3)]}{(3^{99}-1)}$

ดังนั้น $\sum_{n = 1}^{99}P_{(n)}=(3+3^3+3^5+...+3^{95}+3^{97})-\frac{(1+3+3^2+3^3+...3^{98})(1+2(3^{97}+3^{95}+...+3^3+3)}{2(3^{98}+3^{97}+...+3^2+3+1)}=-\frac{1}{2}$
ขอบคุณครับ สงสัยผมลืมดูเครื่องหมาย ตกม้าตายอีกรอบ
__________________
ปีนี้ ต้องไม่พลาด สู้เพื่อ มศว ปทุมวัน
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #41  
Old 10 ตุลาคม 2013, 11:47
booksk booksk ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 ตุลาคม 2013
ข้อความ: 4
booksk is on a distinguished road
Default

อยากได้เฉลยข้อสมการ25x^3+ax^2+bx^2-12=0..ประมาณนี้อะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #42  
Old 10 ตุลาคม 2013, 11:51
booksk booksk ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 ตุลาคม 2013
ข้อความ: 4
booksk is on a distinguished road
Default

ขอเฉลย25x^3+ax^2+bx-12=0...ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #43  
Old 10 ตุลาคม 2013, 18:04
Sirius's Avatar
Sirius Sirius ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไว
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 ตุลาคม 2012
ข้อความ: 210
Sirius is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Hero13 View Post
อีกข้อ $z^x= y^{2x}$ , $4^x=2(2^z)$ เเละ $x+y+z=16$ จอหาค่าของ x-y+z
จาก $z^x=y^{2x}$ จะได้ $z=y^2$
จาก $4^x=2(2^z)$ จะได้ $2x=z+1$
ดังนั้น $16=x+y+z=y^2+y+\frac{y^2+1}{2}$
$\frac{3}{2}y^2+y-\frac{31}{2}=0$
$y = \frac{1}{3}(-1\pm \sqrt{94})$
ดังนั้น $x-y+z=(x+y+z)-2y=\frac{50\pm 2\sqrt{94}}{3}$
__________________
16.7356 S 0 E 18:17:48 14/07/15
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #44  
Old 13 สิงหาคม 2014, 03:09
Plainwalker Plainwalker ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 สิงหาคม 2014
ข้อความ: 3
Plainwalker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ เทพเวียนเกิด View Post
\hat a
ผมไม่แน่ใจว่า 4.5 หรือเปล่า
ได้ความยาวเส้นรอบรูป EDC = 18 หน่วยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #45  
Old 13 สิงหาคม 2014, 04:07
Plainwalker Plainwalker ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 สิงหาคม 2014
ข้อความ: 3
Plainwalker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ booksk View Post
ขอเฉลย25x^3+ax^2+bx-12=0...ครับ
จาก $-1,-cos\theta$ และ $sin\theta $ เป็นคำตอบของสมการจะได้ว่า
$(x+1)(x+cos\theta )(x-sin\theta )=0$
$x^3+(cos\theta -sin\theta +1)x^2+(cos\theta -sin\theta -sin\theta cos\theta )x-sin\theta cos\theta =0$
จาก $25x^3+ax^2+bx-12=0$ จะได้ $x^3+\frac{a}{25} x^2+\frac{b}{25} x-\frac{12}{25} =0$
เทียบ ส.ป.ส. ;
$cos\theta -sin\theta +1=\frac{a}{25}$
$cos\theta -sin\theta -sin\theta cos\theta =\frac{b}{25}$
$sin\theta cos\theta =\frac{12}{25}$
ดังนั้น $cos\theta -sin\theta=\frac{a-25}{25} =\frac{b+12}{25} $
ยกกำลัง2 ;
$cos^2\theta +sin^2\theta -2sin\theta cos\theta =(\frac{a-25}{25})^2=(\frac{b+12}{25})^2$
$\therefore \frac{1}{25} =(\frac{a-25}{25})^2=(\frac{b+12}{25})^2$
แก้สมการได้ $(a,b)=(30,-7) และ (20,-17)$
แต่ $ \theta < 45^๐$ ; $cos\theta >sin\theta $ นั่นคือ $cos\theta -sin\theta >0$
ดังนั้น $(a,b)=(30,-7)$ เท่านั้น
$\therefore \frac{a}{b} (sin\theta cos\theta)=(\frac{-30}{7})(\frac{12}{25}) =\frac{-72}{35}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
เเชร์ เฉลย o-net ม.3 ปี 2556 หน่อยครับ nesloveu ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น 12 29 มิถุนายน 2013 18:38
ข้อสอบ TMC ครั้งที่ 3 ม.2 2556 anongc ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น 29 04 เมษายน 2013 07:47
TMC ครั้งที่ 3 ปี2556 กระบี่ในตำนาน(อนาคตนะ) ข้อสอบในโรงเรียน ม.ต้น 3 23 กุมภาพันธ์ 2013 19:42
TMC ป.6 ครั้งที่ 3 ปี 2556 Guntitat Gun ข้อสอบในโรงเรียน ประถมปลาย 55 16 กุมภาพันธ์ 2013 16:45
หลักเกณฑ์-ปฏิทิน รับสมัครสอบเข้า ม.4 ปี 2556 TU Gifted Math#10 ข่าวคราวแวดวง ม.ต้น 3 18 พฤศจิกายน 2012 22:09


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 01:26


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha