Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > คณิตศาสตร์อุดมศึกษา
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 14 มีนาคม 2007, 13:18
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post ตะลุยโจทย์ยามว่าง

ช่วงนี้ผมว่างๆไม่มีอะไรทำ เลยจะมาขอโจทย์ทำไปเพลินๆครับ

ใครอยากร่วมสนุกเชิญเลยครับ...

ขอเป็นโจทย์ทั่วๆไปครับไม่เจาะจงว่าต้องเป็นเรื่องใด

(ตั้งหมายเลขข้อด้วยนะครับ)

ผมเริ่มก่อนเลยละกัน

1. Calculate $$\dfrac12-\dfrac{1}{2\cdot 3}+\dfrac{1}{3\cdot4} -\dfrac{1}{4\cdot5}+\dots$$

ใครจะทำก็เชิญครับ ใครไม่ทำก็ขอเชิญตั้งโจทย์ใหม่ครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 14 มีนาคม 2007, 14:05
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Post

2. Evaluate the limit $$\lim_{n\to\infty}\cos\frac{\pi}{2^2}\cos\frac{\pi}{2^3}\cdots\cos\frac{\pi}{2^n}.$$

ปล. ดีใจด้วยที่ว่างครับ อยากว่างแบบนั้นบ้างจัง
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 14 มีนาคม 2007, 14:58
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

3. Detemine the limit \[ \lim_{x\rightarrow \infty} (\sqrt[3]{x^3+3x^2} - \sqrt{x^2+x})\]

ป.ล. อยากว่างด้วยคนครับ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!

14 มีนาคม 2007 15:19 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 14 มีนาคม 2007, 15:56
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ nongtum:
2. Evaluate the limit $$\lim_{n\to\infty}\cos\frac{\pi}{2^2}\cos\frac{\pi}{2^3}\cdots\cos\frac{\pi}{2^n}.$$
Let \[
L_n = \cos \frac{\pi }{{2^2 }}\cos \frac{\pi }{{2^3 }} \cdots \cos \frac{\pi }{{2^n }}
\]\[
2\sin \frac{\pi }{{2^n }}L_n = \cos \frac{\pi }{{2^2 }}\cos \frac{\pi }{{2^3 }} \cdots \cos \frac{\pi }{{2^{n - 1} }}\sin \frac{\pi }{{2^{n - 1} }}
\]\[
2^2 \sin \frac{\pi }{{2^n }}L_n = \cos \frac{\pi }{{2^2 }}\cos \frac{\pi }{{2^3 }} \cdots \cos \frac{\pi }{{2^{n - 2} }}\sin \frac{\pi }{{2^{n - 2} }}\]$$ \vdots $$ \[
2^{n - 1} \sin \frac{\pi }{{2^n }}L_n = \sin \frac{\pi }{2} = 1\]\[
L_n = \frac{{2^{1 - n} }}{{\sin \frac{\pi }{{2^n }}}} = 2\cdot\frac{{2^{ - n} }}{{\sin \left( {2^{ - n} \pi } \right)}}\]
Set $\; 2^{ - n} \pi = u\quad ,\;n \to \infty ;u \to 0$
\[
\mathop {\lim }\limits_{n \to \infty } L_n = \mathop {\lim }\limits_{u \to 0} \frac{2}{\pi }\left( {\frac{u}{{\sin u}}} \right) = \frac{2}{\pi }
\]

3.

ตอบ $\dfrac12$ รึเปล่าครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ

14 มีนาคม 2007 19:27 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 5 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Mastermander
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 14 มีนาคม 2007, 19:13
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Post

คำตอบและวิธีทำข้อ 2 ถูกแล้วครับ งั้นลองเปลี่ยนมาแก้สมการกัน

4. Determine all solutions to the following infinite system of linear equations in the infinite many unknowns $x_1,\ x_2,\dots$ : $$\begin{array}{ccl}
x_1+x_3+x_5&=&0\\
x_2+x_4+x_6&=&0\\
x_3+x_5+x_7&=&0\\
\vdots&&\vdots\\
\end{array}$$How many free parameters are required?
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.

14 มีนาคม 2007 19:15 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 14 มีนาคม 2007, 19:25
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

คำตอบบน้อง mastermander ถูกครับ

ข้อ 4. พี่ nongtum มี Hint ไหมครับ กำลัง งง ว่ามันกี่สมการกันแน่
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 14 มีนาคม 2007, 19:50
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ M@gpie:
ข้อ 4. พี่ nongtum มี Hint ไหมครับ กำลัง งง ว่ามันกี่สมการกันแน่
มีจำนวนสมการเป็นอนันต์ครับ
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 14 มีนาคม 2007, 21:19
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

ข้อ 4. ผ่านครับ
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 14 มีนาคม 2007, 21:52
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Post

ข้อ 4 ไม่ยากนะครับ ใช้ความรู้เผลอๆไม่เกินการแก้ระบบสมการแบบม.ต้นด้วย เพียงแต่ต้องสังเกตนิดนิง

งั้นข้อต่อไปก่อนละกัน

5. Given that $$\int_{-\infty}^{\infty}e^{-x^2}\,dx=\sqrt\pi\ ,$$ find $f'(t)$ explicitly, where $$f(t)=\int_{-\infty}^{\infty}e^{-tx^2}\,dx ,\quad t>0.$$Hint: เปลี่ยนตัวแปร
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 14 มีนาคม 2007, 21:59
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ nongtum:
4. Determine all solutions to the following infinite system of linear equations in the infinite many unknowns $x_1,\ x_2,\dots$ : $$\begin{array}{ccl}
x_1+x_3+x_5&=&0\\
x_2+x_4+x_6&=&0\\
x_3+x_5+x_7&=&0\\
\vdots&&\vdots\\
\end{array}$$How many free parameters are required?
ไล่ไปไล่มาเราจะพบว่า $x_n=x_{n+6}$ ดังนั้นจึงเหลือสมการที่ต้องแก้จริงๆคือ $$\begin{array}{rcl} x_1+x_3+x_5&=&0\\ x_2+x_4+x_6&=&0 \end{array}$$ ซึ่งเขียนคำตอบได้ไม่ยากโดยใช้ free parameters เป็นจำนวน 4 ตัวครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 14 มีนาคม 2007, 22:14
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

5. ให้ $u=\sqrt{t} x \to du = \sqrt t dx$

$$f(t) =\frac{1}{\sqrt t} \int_{-\infty}^\infty e^{-u^2} \,du=\sqrt{\pi} t^{-1/2}$$

$$f'(t) = -\frac12 \sqrt\pi t^{-3/2}$$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 14 มีนาคม 2007, 22:29
nongtum's Avatar
nongtum nongtum ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 เมษายน 2005
ข้อความ: 3,246
nongtum is on a distinguished road
Icon15

ตอบเร็วจัง หาโจทย์ให้แทบไม่ทันแน่ะ

เอาแคลไปอีกข้อนะครับ

6. จงหา $F'(0)$ เมื่อกำหนดให้ $$F(x)=\int_{\sin x}^{\cos x}e^{t^2+xt}\,dt.$$
Hint: Use total derivative.
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ
ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ)

Stay Hungry. Stay Foolish.

15 มีนาคม 2007 05:09 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 14 มีนาคม 2007, 22:35
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

อ่า ผมนี่แย่จริงๆ แหะๆๆ


7. Prove that if a matrix $R$ is in row-echelon form, then the nonzero row vectors form a basis for the row space of $R$.

ข้อ 6. ต้องเป็นอินทิเกรตเทียบ $t$ รึเปล่าครับ พี่ nongtum

ผมขอใช้ Leibniz's rule for diffrentiating an integral ละกันนะครับ
\[ \frac{d}{dx} \int_{a(x)}^{b(x)}f(x,t) dt = \int_{a(x)}^{b(x)}\frac{\partial}{\partial x}f(x,t) dt + f(x,b(x))\frac{d}{dx}b(x) - f(x,a(x))\frac{d}{dx}a(x)\]
ให้ $f(x,t) = e^{t^2+xt}, \; \; a(x)= \sin x, \;\; b(x)= \cos x $
แทนสูตรข้างบนจะได้
\[ F'(x) = \int_{\sin x} ^{\cos x} te^{t^2+xt} dt -\sin x \cdot e^{\cos^2 x+ x\cos x} - \cos x \cdot e^{\sin^2x +x\sin x} \]
แทน $x=0$
\[ F'(0) = \int_{0} ^{1} te^{t^2} dt -1 = \frac{e-3}{2}\]
ถูกรึเปล่าครับเนี่ย รู้สึกวแหม่งๆ ยังไงๆ ชอบกล
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!

16 มีนาคม 2007 09:43 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 14 มีนาคม 2007, 23:05
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

ข้อนี้ผมอยากเห็น proof เต็มๆครับ แหะๆ ไม่รู้จะเขียนยังไง
8. Let $X,Y$ be normed linear space and $ T: X \rightarrow Y$ be a bounded linear operator such that $\|T \| \leq M $.
Prove that if there is a vector $x_0 \in X-\{ 0 \}$ such that $\|Tx_0 \| = M\|x_0\|$ then $\|T \| = M$.
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 15 มีนาคม 2007, 03:13
Onasdi's Avatar
Onasdi Onasdi ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 12 พฤษภาคม 2005
ข้อความ: 760
Onasdi is on a distinguished road
Post

9. Let $S(n)=\displaystyle{\sum_{k=1}^n (-1)^{k+1}k}$.
(i) Find all positive integers $a, b$ such that $S(a)+S(b)+S(a+b)=2007$.
(ii) Find all positive integers $c, d$ such that $S(c)+S(d)+S(c+d)=2008$.
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 02:05


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha