Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > ทฤษฎีจำนวน
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 27 เมษายน 2014, 19:29
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default ลองทำ ทบ จน.กันเล่นๆนะครับ

จงหา จำนวนเต็ม $k$ ที่มากที่สุด(ในเทอมของ $n$) ที่ทำให้ $$\frac{m^{n!}-1}{2^k(m^{2!}-1)}$$ เป็นจำนวนเต็มคี่ สำหรับทุกจำนวนเต็มคี่ $m$ ที่มากกว่า $1$ เเละจำนวนนับ $n>1$
__________________
Vouloir c'est pouvoir
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 28 เมษายน 2014, 21:52
Euler-Fermat's Avatar
Euler-Fermat Euler-Fermat ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 ตุลาคม 2011
ข้อความ: 448
Euler-Fermat is on a distinguished road
Default

พิจารณา $\upsilon_{2}(n!)$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 03 มิถุนายน 2014, 01:45
SixGoldsForThailand SixGoldsForThailand ไม่อยู่ในระบบ
สมาชิกใหม่
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 มิถุนายน 2014
ข้อความ: 10
SixGoldsForThailand is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ จูกัดเหลียง View Post
จงหา จำนวนเต็ม $k$ ที่มากที่สุด(ในเทอมของ $n$) ที่ทำให้ $$\frac{m^{n!}-1}{2^k(m^{2!}-1)}$$ เป็นจำนวนเต็มคี่ สำหรับทุกจำนวนเต็มคี่ $m$ ที่มากกว่า $1$ เเละจำนวนนับ $n>1$
สวัสดีครับ คุณจูกัดเหลียง

ไม่ทราบว่าคุณผิดพิมพ์หรือไม่ครับ ตรง $m^{2!}$ ครับ

ขอบคุณครับ
__________________
อยากให้ประเทศไทยได้หกเหรียญทอง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 19 สิงหาคม 2014, 20:44
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

ถูกเเล้วครับ ขอโทษที่ตอบช้านะครับ
__________________
Vouloir c'est pouvoir
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 11 กันยายน 2014, 22:31
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

ช่วยเฉลยวิธีคิดข้อนี้หน่อยครับ

ผมมั่วไปมั่วมาได้ $ k=\left\lfloor\,\frac {n}{2}\right\rfloor +\left\lfloor\,\frac {n}{2^2}\right\rfloor +\left\lfloor\,\frac {n}{2^3}\right\rfloor +...+\left\lfloor\,\frac {n}{2^\sqrt{n}} \right\rfloor \,-1$ครับ

11 กันยายน 2014 22:35 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ artty60
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 14 กันยายน 2014, 11:02
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

คุณจูกัดเหลียงมีเฉลยวิธีและคำตอบไหมครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 14 กันยายน 2014, 21:01
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

ให้ $n!=2^\alpha t$ โดยที่ $t$ เป็นจำนวนคี่
ได้ว่า $$\frac{m^{n!}-1}{m^{2!}-1}=\Big((m^2+1)({m^2}^2+1)...(m^{2^{\alpha-1}}+1)\Big)(1+m^{2^\alpha}+(m^{2^{\alpha}})^2+...(m^{2^{\alpha}})^{t-1})$$
จาก $m,t$ เป็นเลขคี่ได้ว่า $2|(1+m^{2^\alpha}+(m^{2^{\alpha}})^2+...(m^{2^{\alpha}})^{t-1})$ ไม่ได้ และจาก $2||(m^{2^k}+1)$ ทุกจำนวนเต็มบวก $k$ ดังนั้น $2^{\alpha-1}||\Big(\dfrac{m^{n!}-1}{m^{2!}-1}\Big)$
จึงได้ว่า $$k=\alpha-1=-1+\sum_{k=0}^{\infty} \left\lfloor\,\dfrac{n}{2^k}\right\rfloor $$
__________________
Vouloir c'est pouvoir
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 15 กันยายน 2014, 12:16
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

มันจะเท่ากันครับ เเต่ที่ผมสงสัยมากกว่าคือ คุณ artty60 เดาคำตอบออกมาได้อย่างไร
__________________
Vouloir c'est pouvoir
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 15 กันยายน 2014, 15:49
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

ผมว่ามันไม่เท่ากันนะครับ คำตอบผมน้อยกว่าของคุณจูกัดเหลียงครับ ลองเช็คคำตอบดู และผมยังงงกับตัวk2ตัวว่ามันคนละตัวแปรรึเปล่า

ส่วนผมก็คิดคล้ายๆกันน่ะครับ ผมให้ $\,m^2=x\,$

$\,m^{n!}-1=(x-1)(x^{\frac{n!}{2}}-1)=(x-1)(x^{\frac{n!}{2}-1}+x^{\frac{n!}{2}-2}+...+x^2+x+1)$

แล้วดูๆเอาเรื่องเลขคู่เลขคี่ และทบ.เลอจองด์ช่วยได้ดังคำตอบก่อนหน้านี้

15 กันยายน 2014 15:50 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ artty60
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 16 กันยายน 2014, 15:30
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

ลองเเสดงวิธีเต็มๆทีครับ
__________________
Vouloir c'est pouvoir
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 17 กันยายน 2014, 21:47
artty60 artty60 ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 10 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 1,036
artty60 is on a distinguished road
Default

ให้$\,m^2=x\, $ซึ่ง x ก็เป็นจำนวนคี่

จะได้$\,m^{n!}-1\, =(x^{\frac{n!}{2}}-1)=(x-1)(x^{\frac {n!}{2}-1}+x^{\frac{n!}{2}-2}+...+x^2+x+1) $

แสดงว่า$\,2^k\mid (x^{\frac {n!}{2}-1}+x^{\frac{n!}{2}-2}+...+x^2+x+1) $

จะเห็นว่าฝั่งขวามี$\,\frac {n!}{2}\, $เทอม ซึ่งเป็นจำนวนคู่

แต่ละเทอมเป็นจำนวนคี่ ซึ่งหาร2เหลือเศษ1 เศษรวมเป็น$\,\frac {n!}{2}\,$

ดังนั้น$\,2^k\mid (P+\frac {n!}{2})=\frac {n!}{2}(Q+1)\,$โดย P, Qเป็นจำนวนคู่

แสดงว่า$\,2^k\mid \frac {n!}{2}\, $

หาจำนวนตัวประกอบ 2 ของ $\,n!\,$ด้วยทบ.ของเลอจองด์ได้$\,=\left\lfloor\,\frac {n}{2}\right\rfloor +\left\lfloor\,\frac{n}{2^2}\right\rfloor +...+\left\lfloor\,\frac {n}{2^\sqrt{n}} \right\rfloor \,$

$$\therefore \,\quad \,k=\sum_{i = 1}^{\sqrt{n} } \left\lfloor\,\frac {n}{2^i}\right\rfloor-1 $$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 18:52


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha