Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #1  
Old 08 เมษายน 2009, 22:06
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default โจทย์นิดหน่อยครับ

1.จงหาค่าของ $f^{-1}(x)$ เมื่อ $f(\frac{x}{2}+1)=\frac{1}{2x}-1$
2.จงหาจำนวนเชิงซ้อน $z$ เมื่อ $|\frac{z+1}{z+(3-2i)}|=1$ และ $z\times \overline{z} =29$
3.จงหาเซตคำตอบของ $\frac{1}{\log_2x}+\frac{1}{\log_3x}+...+\frac{1}{\log_9x}+\frac{1}{\log_{10}x}\leqslant 1$
4.กำหนดให้ $f(x)=\sqrt{\arcsin(\log_3x)}+\log_5(x-2)$ จงหา $D_f$
5.ถ้า $\log(\frac{x+y}{3})=\frac{1}{2}(\log x+ \log y)$ จงหาค่าของ $\sqrt{\frac{x}{y}}+\sqrt{\frac{y}{x}}$ เมื่อ $x,y$ เป็นจำนวนจริงโดยที่ $x,y>0$
6.จงหาสัมประสิทธิ์หน้าพจน์ $x^{54}$ ของอนุกรม $1+(1+x^2)+(1+x^2)^2+...+(1+x^2)^{50}$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #2  
Old 09 เมษายน 2009, 00:02
LightLucifer's Avatar
LightLucifer LightLucifer ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2008
ข้อความ: 2,352
LightLucifer is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
6.จงหาสัมประสิทธิ์หน้าพจน์ $x^{54}$ ของอนุกรม $1+(1+x^2)+(1+x^2)^2+...+(1+x^2)^{50}$
ถ้ามองเป็นอนุกรมจะได้ว่า
$S_{50}=\frac{1(1-(x^2+1)^{50}}{1-(1-x^2)}=\frac{1-(x^2+1)^{50}}{x^2}$
พจน์ที่จะกลายเป็น $x^{54}$ คือ พจน์ที่เป็น $x^{56}$ จากการกระจาย $(x^2+1)^{50}$
ผมได้ $\binom{50}{28}$ อ่ะครับ

คำตอบไม่สวยเลย ผิดแน่ผม
__________________
เหนือฟ้ายังมีฟ้าแต่เหนือข้าต้องไม่มีใคร

ปีกขี้ผื้งของปลอมงั้นสินะ


...โลกนี้โหดร้ายจริงๆ มันให้ความสุขกับเรา แล้วสุดท้าย มันก็เอาคืนไป...
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #3  
Old 09 เมษายน 2009, 02:35
-InnoXenT-'s Avatar
-InnoXenT- -InnoXenT- ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 มิถุนายน 2008
ข้อความ: 487
-InnoXenT- is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ LightLucifer View Post
ถ้ามองเป็นอนุกรมจะได้ว่า
$S_{50}=\frac{1(1-(x^2+1)^{50}}{1-(1-x^2)}=\frac{1-(x^2+1)^{50}}{x^2}$
พจน์ที่จะกลายเป็น $x^{54}$ คือ พจน์ที่เป็น $x^{56}$ จากการกระจาย $(x^2+1)^{50}$
ผมได้ $\binom{50}{28}$ อ่ะครับ

คำตอบไม่สวยเลย ผิดแน่ผม
ผิดจริงๆแหละครับ เพราะว่า - -a คุณ LightLucifer คิดเลขผิด แล้วก็ พจน์ทั้งหมด มี 51 พจน์นะครับ

แก้ให้ละกันครับ

$S_{50} = \frac{1*(1 - (1+x^2)^{51})}{1-(1+x^2)}$

$S_{50} = \frac{(1+x^2)^{51}-1 }{x^2}$

พจน์ที่จะมี $x^{54}$ คือ พจน์ที่ 24 จะได้ $\binom{51}{23} $

เพิ่มข้อ 4 ให้ครับ

จากสมการที่ให้มา จะได้ $\frac{x+y}{3} = \sqrt{xy}$

เอาไปแทนค่า ในสิ่งที่โจทย์ถาม

$\sqrt{\frac{x}{y}} + \sqrt{\frac{y}{x}} = \frac{x+y}{\sqrt{xy}} = \frac{x+y}{\frac{x+y}{3}} = 3$
__________________
เมื่อไรเราจะเก่งเลขน้าาาาาา ~~~~

T T

ไม่เก่งซักที ทำไงดี

09 เมษายน 2009 02:39 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ -InnoXenT-
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #4  
Old 09 เมษายน 2009, 15:56
PoSh PoSh ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2008
ข้อความ: 114
PoSh is on a distinguished road
Default

ข้อ 3 ตอบ $(10! , \infty)$
ข้อ 5 ตอบ 3
ไม่มั่นใจนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #5  
Old 09 เมษายน 2009, 15:59
PoSh PoSh ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2008
ข้อความ: 114
PoSh is on a distinguished road
Default

แถมเอาอีกข้อหละกันไม่มั่นใจเท่าไหร่นะครับ

ข้อ 1 ตอบ x รึปล่าวครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #6  
Old 09 เมษายน 2009, 16:01
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ข้อ3)ผมว่า $\log_x(10!)\leqslant 1$
$10!\leqslant x$
$\therefore x\in [10!,\infty )$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #7  
Old 09 เมษายน 2009, 17:18
PoSh PoSh ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณบริสุทธิ์
 
วันที่สมัครสมาชิก: 20 ธันวาคม 2008
ข้อความ: 114
PoSh is on a distinguished road
Default

โอ้วขอบคุณมากครับ

เหอะๆพอดีเบลอๆอ่ะเพิ่งดูหนังเสร็จๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #8  
Old 09 เมษายน 2009, 18:33
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

เพิ่มสักข้อ
กำหนดให้ $0\leqslant \theta \leqslant \frac{\pi}{2}$ และ $\sin\theta-\sin^2\theta+\sin^3\theta-\sin^4\theta+...=\frac{1}{4}$
ผลบวกของอนุกรม $\cos\theta+\cos^2\theta+\cos^3\theta+...$ มีค่าเท่าใด
ผมได้ $8+6\sqrt{2}$ ถูกไหมครับช่วยตรวจหน่อยครับ ขอบคุณครับ
ปล.ช่วยเฉลยหน่อยข้อฟังก์ชันอินเวิสหน่อยนะครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #9  
Old 09 เมษายน 2009, 18:48
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
เพิ่มสักข้อ
กำหนดให้ $0\leqslant \theta \leqslant \frac{\pi}{2}$ และ $\sin\theta-\sin^2\theta+\sin^3\theta-\sin^4\theta+...=\frac{1}{4}$
ผลบวกของอนุกรม $\cos\theta+\cos^2\theta+\cos^3\theta+...$ มีค่าเท่าใด
ผมได้ $8+6\sqrt{2}$ ถูกไหมครับช่วยตรวจหน่อยครับ ขอบคุณครับ
ปล.ช่วยเฉลยหน่อยข้อฟังก์ชันอินเวิสหน่อยนะครับ
ถูกครับ
สำหรับข้อ 1. จะได้ $f(x) = \frac{1}{4(x-1)} -1$ ดังนั้นจะหา $f^{-1}(x)$ ก็ไม่ยากแล้วครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #10  
Old 09 เมษายน 2009, 18:56
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

ขอบคุณครับคุณหยินหยาง
ข้อฟังก์ชันอินเวิสคือ $f^{-1}(x)=\frac{1}{4(x+1)}+1$ ใช่หรือเปล่าครับ

09 เมษายน 2009 18:56 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Ne[S]zA
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #11  
Old 09 เมษายน 2009, 19:01
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Ne[S]zA View Post
ขอบคุณครับคุณหยินหยาง
ข้อฟังก์ชันอินเวิสคือ $f^{-1}(x)=\frac{1}{4(x+1)}+1$ ใช่หรือเปล่าครับ
ใช่ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #12  
Old 09 เมษายน 2009, 19:04
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

โอเคครับ ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #13  
Old 09 เมษายน 2009, 22:01
square1zoa's Avatar
square1zoa square1zoa ไม่อยู่ในระบบ
บัณฑิตฟ้า
 
วันที่สมัครสมาชิก: 17 สิงหาคม 2008
ข้อความ: 413
square1zoa is on a distinguished road
Default

ข้อ 3 น่าจะตอบ $(0,1) \cup [10!,\infty )$

อาจจะผิดก็ได้ครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #14  
Old 09 เมษายน 2009, 22:04
Ne[S]zA's Avatar
Ne[S]zA Ne[S]zA ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 กรกฎาคม 2008
ข้อความ: 1,221
Ne[S]zA is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ square1zoa View Post
ข้อ 3 น่าจะตอบ $(0,1) \cup [10!,\infty )$

อาจจะผิดก็ได้ครับ
$(0,1)$ พิจารณาจากอะไรหรอครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #15  
Old 09 เมษายน 2009, 22:17
หยินหยาง's Avatar
หยินหยาง หยินหยาง ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่จักรวาล
 
วันที่สมัครสมาชิก: 06 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,921
หยินหยาง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ square1zoa View Post
ข้อ 3 น่าจะตอบ $(0,1) \cup [10!,\infty )$

อาจจะผิดก็ได้ครับ
มาช่วยยืนยันว่าไม่ผิดครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 11:16


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha