Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > Calculus and Analysis
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #196  
Old 19 พฤศจิกายน 2006, 02:13
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

อ้างอิง:
ข้อความเดิมของคุณ M@gpie:
จงหาค่าลิมิตโดยใช้ไม่ใช้กฏของโลปิตาล หรือ อนุกรมเทย์เลอร์

\[ \lim_{x \rightarrow 0}\frac{\sinh x}{x}\]

ให้ $f(x) = \sinh{x}$ จะได้ว่า $$\displaystyle{ \lim_{x \rightarrow 0}\frac{\sinh x}{x} = f'(0) = \cosh{(0)} = 1 }$$

แบบนี้ได้รึเปล่าครับ ผมกำลังสงสัยว่ามันจะกลายเป็นงูกินหางรึเปล่า เพราะสูตรอนุพันธ์เราก็ต้อง derive มาจากลิมิตอีกที
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #197  
Old 19 พฤศจิกายน 2006, 10:35
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

อืม คำถามเรื่องงูกินหางของพี่ noonuii ผมก็เคยคิดมากรณี ใช้เทคนิคนี้ในการหาลิมิตของ $ \displaystyle{ \lim_{x\rightarrow 0} \frac{\sin x}{x} }$ แต่เลิกคิดไปแล้ว 55 ก็ไว้จะไปหาคนถามให้นะครับ แต่ข้อนี้เป็น $ \displaystyle{ \lim_{x\rightarrow 0} \frac{\sinh x}{x} }$ ซึ่งไม่เป็นงูกินหางล่ะมั้งครับ คิดว่าไม่น่าผิดพลาด
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #198  
Old 19 พฤศจิกายน 2006, 18:35
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Smile

งั้นก็เฉลยเลยครับ เฉลยๆๆ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #199  
Old 19 พฤศจิกายน 2006, 18:43
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

เฉลยก็ทำแบบที่พี่ noonuii ทำนั่นแหละครับ จากนิยามของอนุพันธ์จะเห็นว่า
\[f'(0) = \lim_{x\rightarrow 0}\frac{f(x)-f(0)}{x-0}\]
เมื่อให้ $f(x)=\sinh x $ ก็ตรงกะโจทย์พอดี
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #200  
Old 19 พฤศจิกายน 2006, 19:11
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Icon16

อ๋อ..เข้าใจละ ขอบคุณครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #201  
Old 20 พฤศจิกายน 2006, 11:35
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

ข้อ 61 ของคุณ Warut ถูกแล้วครับ ขอต่อข้อต่อไปนะครับ

62. Evaluate $\displaystyle{ \sum_{k=1}^n k{n \choose k} }$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #202  
Old 23 พฤศจิกายน 2006, 22:36
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

งง ว่าทำไมไม่มีใครตอบข้อนี้ โดยเฉพาะน้องๆมัธยม

ข้อ 62 ใช้แคลคูลัสพื้นฐานมากๆ น้องคนไหนว่างๆมาโชว์ความสามารถกันหน่อยนะค้าบ เดี๋ยวบอร์ดจะสงบเกินไป

__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #203  
Old 23 พฤศจิกายน 2006, 22:57
Mastermander's Avatar
Mastermander Mastermander ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 14 ตุลาคม 2005
ข้อความ: 796
Mastermander is on a distinguished road
Post

62.คงง่ายไปไม่มีใครมาทำ - -
$$(1+x)^n = {n\choose 0}x^0+{n\choose 1}x^1+...+{n\choose n}x^n$$
diff and Letting $ x=1 $
Edit:

as a result to $ n\cdot 2^{n-1} $

63. prove that
$$x^x>\frac12\quad,\forall x>0$$
__________________
โลกนี้มีคนอยู่ 10 ประเภท คือ คนที่เข้าใจเลขฐานสอง และคนที่ไม่เข้าใจ

23 ธันวาคม 2006 12:07 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Mastermander
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #204  
Old 23 พฤศจิกายน 2006, 23:25
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Post

ข้อ 62 ต้องเป็น $ n\cdot 2^{n-1} $ นะครับ (สงสัยจะรีบพิมพ์ไปหน่อย)

ข้อ 63

เพราะ $ f(x)= x\ln(x) $ เป็น convex function on $ (0,\infty) $ และมีค่าต่ำสุดที่ $ x= e^{-1} $

ดังนั้น $ x\ln(x) \geq e^{-1}\ln(e^{-1})=-\frac{1}{e} > -\frac{1}{2} \Rightarrow x^x >\frac{1}{\sqrt{e}}( >\frac{1}{2}) $
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #205  
Old 24 พฤศจิกายน 2006, 00:09
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

62. diff แล้วทำไมได้ $n\cdot 2^n$ ล่ะครับ <-- คุณ passer - by มาแก้ให้แล้วครับ

63. ถ้า $x\geq 1$ แล้ว $x^x \geq 1 > \frac{1}{2}$
ถ้า $0<x<1$ แล้ว
$\frac{1}{x^x} = \Big(\frac{1}{x}\Big)^x \cdot 1^{1-x}\leq x\cdot\frac{1}{x} + (1-x)\cdot 1 = 2 - x $ โดย Weighted AM-GM
ดังนั้น $x^x \geq \frac{1}{2-x} > \frac{1}{2}$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

24 พฤศจิกายน 2006 00:16 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #206  
Old 24 พฤศจิกายน 2006, 23:59
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

64. กำหนดให้ $P(x)=x^n+2x^{n-1}+\cdots +nx + n+1$ จงหาค่าของ
$$\displaystyle{ \sum_{k=0}^n \frac{P^{(k+1)}(0)}{k!}}$$
เมื่อ $P^{(k)}$ หมายถึง อนุพันธ์อันดับที่ $k$ ของ $P$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #207  
Old 28 พฤศจิกายน 2006, 23:36
M@gpie's Avatar
M@gpie M@gpie ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 09 ตุลาคม 2003
ข้อความ: 1,227
M@gpie is on a distinguished road
Post

อืมมม จิงด้วยครับ รีบทำแหะๆๆ แก้ตัวๆ
จากสูตรของอนุกรมเทย์เลอร์ รอบจุด 0
\[ P(x) = P(0) + P'(0)x + \frac{P''(0)}{2!}x^2 + ... + \frac{P^{(n)}(0)}{n!!}x^{n} + \frac{P^{(n+1)}(0)}{(n+1)!}x^{n+1}\]
ดังนั้น \[ P'(x)= P'(0) + P''(0)x + \frac{P'''(0)}{2!}x^2 + ... + \frac{P^{(n)}(0)}{(n-1)!}x^{n-1} + \frac{P^{(n+1)}(0)}{n!}x^{n}\]
จะได้ \[ P'(1) = P'(0) + P''(0) + \frac{P'''(0)}{2!} + ... + \frac{P^{(n)}(0)}{(n-1)!} + \frac{P^{(n+1)}(0)}{n!}\]
จะได้ว่า \[ P'(1) = 1\cdot n + 2(n-1) +3(n-2) + ... + n( n- (n-1)) = \sum_{k=0}^{n}\frac{P^{(k+1)}(0)}{k!} \]
ดังนั้น \[\sum_{k=1}^{n}\frac{P^{(k+1)}(0)}{k!} = \sum_{k=1}^{n} k(n-k+1) \]
แล้วก็ใช้สูตรอนุกรมหาผลบวกออกมาจะได้
\[\sum_{k=1}^{n}\frac{P^{(k+1)}(0)}{k!} = \frac{n(n+1)(n+2)}{6} \]

ปล. คำตอบนี้ก็ยังไม่ได้เช็คนะครับ ถ้าผิดอีกต้องขออภัยอีกรอบ แหะๆ
__________________
PaTa PatA pAtA Pon!

29 พฤศจิกายน 2006 18:01 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ M@gpie
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #208  
Old 29 พฤศจิกายน 2006, 03:24
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

ข้อ 64 คิดว่ายังไม่ถูกครับ ลองแทน n=2 แล้วไม่ได้ตามสูตร
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #209  
Old 04 ธันวาคม 2006, 01:47
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Post

เพิ่งเห็นว่าน้อง Magpie มาแก้คำตอบแล้วครับ งั้นขอต่อข้อต่อไป ช่วงนี้เน้นเอกลักษณ์ binomial coefficients ครับ

65. ให้ $n$ เป็นจำนวนนับ จงหาค่าของ

$$\sum_{k=1}^{n+1} {n+1 \choose k}(-1)^{n+k} k^n $$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น

04 ธันวาคม 2006 02:08 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nooonuii
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #210  
Old 06 ธันวาคม 2006, 11:24
warut warut ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 พฤศจิกายน 2001
ข้อความ: 1,627
warut is on a distinguished road
Post

ถ้าผมเข้าใจไม่ผิด โจทย์ข้อ 65. ของคุณ nooonuii นี่เทียบเท่ากับการให้พิสูจน์ว่า $(n+1)^{\text{st}}$ forward difference ของ $f(x)=x^n$ มีค่าเป็น 0 (i.e., $ \Delta^{n+1} x^n =0$ ) ซึ่งผมไม่ทราบว่ามีวิธีง่ายๆที่จะพิสูจน์โดยใช้ calculus รึเปล่านะครับ

10 ธันวาคม 2006 23:12 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warut
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
Geometry marathon Char Aznable เรขาคณิต 78 26 กุมภาพันธ์ 2018 21:56
Algebra Marathon nooonuii พีชคณิต 199 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08
Calculus Marathon (2) nongtum Calculus and Analysis 134 03 ตุลาคม 2013 16:32
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
Inequality Marathon nongtum อสมการ 155 17 กุมภาพันธ์ 2011 00:48


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 03:13


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha