Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์โอลิมปิก และอุดมศึกษา > ข้อสอบโอลิมปิก
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #151  
Old 02 มกราคม 2012, 21:22
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ passer-by View Post

Inequalities

10. a,b,c >0 พิสูจน์ $$ \sum_{cyc} \sqrt{\frac{a}{a^2+b+4}} \leq \sqrt[4]{\frac{3}{4}(a+b+c)}$$
ทำได้เเล้ว
พิจารณา Lemma โดยโคชี $$\sum_{cyc} \sqrt{\frac{x^2}{(2x+y)(x+y+z)}}=\sum_{cyc} \sqrt{\frac{x}{x+y+z}}\cdot{\sqrt{\frac{x}{2x+y}}}$$
$$\le \sqrt{\sum_{cyc}\frac{x}{x+y+z}}\cdot\sqrt{\sum_{cyc} \frac{x}{2x+y}}=\sqrt{\sum_{cyc} \frac{x}{2x+y}}\le 1$$
โดย อสมการสุดท้ายจริงจาก $$\sum_{cyc} \frac{x}{2x+y}\le 1\leftrightarrow \sum_{cyc} \frac{x}{2z+x}\ge 1$$ โดยโคชี
เเละ พิจารณา $$\sum_{cyc} \sqrt{\frac{2x^2}{x^4+y^2+4}}\le \sum_{cyc}\sqrt{\frac{2x^2}{4x+2y}}=\sum_{cyc}\sqrt{\frac{x^2}{2x+y}}\le \sqrt{x+y+z}$$
โดย อสมการสุดม้าย จริงจาก Lemma
เเทน $a=x^2,b=y^2,c=z^2$
จะได้ว่า $$ \sum_{cyc} \sqrt{\frac{a}{a^2+b+4}} \le \sqrt{\frac{\sqrt{a}+\sqrt{b}+\sqrt{c}}{2}}\le \sqrt[4]{\frac{3}{4}(a+b+c)}$$
เเละ อสมการสุดท้ายก็โคชีอีกรอบ
อลังการมาก
__________________
Vouloir c'est pouvoir

02 มกราคม 2012 21:33 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ จูกัดเหลียง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #152  
Old 02 มกราคม 2012, 21:24
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

#150
วาดรูปผิดเปล่าครับ -__-"
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #153  
Old 02 มกราคม 2012, 21:47
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
#150
วาดรูปผิดเปล่าครับ -__-"
(เอาแล้วไง) ยังไงหรอครับ ?

ไม่เข้าใจอธิบายเพิ่มหน่อยครับ
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #154  
Old 02 มกราคม 2012, 22:08
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

#153
รูปเดียวกัน??
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 

03 มกราคม 2012 19:24 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Amankris
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #155  
Old 03 มกราคม 2012, 18:16
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
#153
รูปเดียวกัน??
ไม่เห็นรูปครับ เดี๋ยวจะลองวาดดูใหม่

03 มกราคม 2012 18:16 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ BLACK-Dragon
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #156  
Old 03 มกราคม 2012, 20:06
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
#153
รูปเดียวกัน??
ขอบคุณครับ รูปไ่ม่เหมือนกันแต่ทำคล้ายๆกัน

ช่วยดูให้หน่อยครับว่าถูกหรือยัง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #157  
Old 04 มกราคม 2012, 04:18
passer-by passer-by ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 11 เมษายน 2005
ข้อความ: 1,442
passer-by is on a distinguished road
Default

แปะให้อีก 2 ข้อครับ และสำหรับผม ช่วงนี้คงจะเบรคไว้แค่ข้อ 12 ก่อน

11. a,b,c,d >0 พิสูจน์ $$ 4\sqrt[16]{\frac{32a(a+b)(a+b+c)}{3(a+b+c+d)^3}}+ \sqrt[4]{\frac{24bcd}{(a+b)(a+b+c)(a+b+c+d)}} \leq 5 $$

12. $p$ เป็นจำนวนเฉพาะ >3 ,พิสูจน์ $$ \binom{2p}{p} \equiv 2\pmod{p^3} $$
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #158  
Old 04 มกราคม 2012, 08:19
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

#150
จุด $G$ มีสองจุด??
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #159  
Old 04 มกราคม 2012, 09:49
BLACK-Dragon's Avatar
BLACK-Dragon BLACK-Dragon ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 04 พฤศจิกายน 2010
ข้อความ: 719
BLACK-Dragon is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Amankris View Post
#150
จุด $G$ มีสองจุด??
ลบบรรทัดที่2ครับลืมลบ =_=
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #160  
Old 04 มกราคม 2012, 11:00
Amankris's Avatar
Amankris Amankris ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 13 มกราคม 2007
ข้อความ: 2,492
Amankris is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ passer-by View Post
4. (Copied from สสวท. OCT 2011) สามเหลี่ยมด้านไม่เท่า ABC มีวงกลมแนบใน(จุด ศก. I) สัมผัส AB ที่ Q ,ลาก IT ขนานกับ CQ โดย T อยู่บน AB , TK สัมผัสวงกลมแนบในดังกล่าวที่ K (คนละจุดกับ Q) และตัด AC,BC ที่ L,N ตามลำดับ พิสูจน์ TL =TN
รูปนี้ใบ้เยอะนะ
รูปภาพที่แนบมาด้วย
 
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #161  
Old 05 มกราคม 2012, 18:49
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ passer-by View Post
12.จำนวนเฉพาะ $p$ >3 ,พิสูจน์ $$ \binom{2p}{p} \equiv 2\pmod{p^3} $$
ผมทำไม่เป็นจริงๆครับ ลองมั่วๆไปก่อน (ปล.Lemma ข้างล่างนี้นี้ผมว่าจริงนะครับ วานคนช่วยพิสูจน์)
Lemma สำหรับทุกๆ จำนวนเฉพาะ $p\ge 5$
จะได้ว่า $$p|\sum_{k=1}^{(p-1)/2} (k!(p-k)!)^2$$
เเละพิจารณา สำหรับ $i\in A$ ซึ่ง $A=\left\{\,i\in\mathbb{N}|(i!,p^3)=1 , i\le p-1\right\} $ จะได้ว่ามีอินเวอร์สในเซตของมันเอง ทำให้ได้ว่า
$$\binom {2p} {p}-2=\sum_{k=0}^{p} {\binom p k}^2-2\equiv 2(p!)^2\Big(\sum_{k=1}^{(p-1)/2}(k!(p-k)!)^2\Big)\equiv 0\pmod {p^3}$$
โดย สมภาครองสุดท้ายได้จากการอินเวอร์สในมอดุโล $p^3$ เเละสมภาคท้ายสุดจาก Lemma
ถ้าผิดพลาดประการใดก็ได้โปรดชี้เเนะด้วยครับ ขอบพระคุณล่วงหน้า
__________________
Vouloir c'est pouvoir

05 มกราคม 2012 20:01 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ จูกัดเหลียง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #162  
Old 05 มกราคม 2012, 19:55
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ จูกัดเหลียง View Post
ผมทำไม่เป็นจริงๆครับ ลองมั่วๆไปก่อน (ปล.Lemma ข้างล่างนี้นี้ผมว่าจริงนะครับ วานคนช่วยพิสูจน์)
Lemma สำหรับทุกๆ จำนวนเฉพาะ $p\ge 5$
จะได้ว่า $$p|\sum_{k=1}^{(p-1)/2} (k!(p-k)!)$$
เเละพิจารณา สำหรับ $i\in A$ ซึ่ง $A=\left\{\,i\in\mathbb{N}|(i!,p^3)=1 , i\le p-1\right\} $ จะได้ว่ามีอินเวอรืสในเซตของมันเอง ทำให้ได้ว่า
$$\binom {2p} {p}-2=\sum_{k=0}^{p} {\binom p k}^2-2\equiv 2(p!)^2\Big(\sum_{k=1}^{(p-1)/2}(k!(p-k)!)\Big)\equiv 0\pmod {p^3}$$
โดย สมภาครองสุดท้ายได้จากการอินเวอร์สในมอดุโล $p^3$ เเละสมภาคท้ายสุดจาก Lemma
ถ้าผิดพลาดประการใดก็ได้โปรดชี้เเนะด้วยครับ ขอบพระคุณล่วงหน้า
Lemma ไม่จริงครับ รู้สึกตัวเต็มๆจะเป็น shortlist 6th TMO

ที่ว่า $k!(p-k)! \equiv (-1)^k \cdot k \pmod{p}$

แทนลงไปแล้วแยกเคส $p \equiv 1,3 \pmod{4}$ จะได้ว่ามีเศษเหลือแน่นอนทั้งสองกรณี จึงหารไม่ลงตัว

ปล. ตกอะไรไปหรือเปล่า ตอนแปลงอินเวอร์สลืมยกกำลังสองน่ะ
__________________
keep your way.

05 มกราคม 2012 19:56 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ PP_nine
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #163  
Old 05 มกราคม 2012, 20:02
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

สรุปคือตอนนี้ได้เเค่ว่า $$p^2|\binom {2p}{p}-2$$ เองเหรอครับ
ปล.ที่ผมอินเวอร์สไปก็ถูกสินะครับ
__________________
Vouloir c'est pouvoir

05 มกราคม 2012 20:04 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ จูกัดเหลียง
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #164  
Old 05 มกราคม 2012, 20:09
PP_nine's Avatar
PP_nine PP_nine ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 เมษายน 2010
ข้อความ: 607
PP_nine is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ passer-by View Post
12. $p$ เป็นจำนวนเฉพาะ >3 ,พิสูจน์ $$ \binom{2p}{p} \equiv 2\pmod{p^3} $$
จริงๆก็ทำคล้ายกับคุณ จูกัดเหลียง แหละครับ แต่ใช้ Lemma ที่รู้จักกันดี (พิสูจน์ไม่ยากครับ)

สำหรับจำนวนเฉพาะ $p$ และจำนวนนับ $h,k$ ถ้า $h+k=p-1$ แล้ว $h!k! \equiv (-1)^h \pmod{p}$

ทำให้ $[ k!(p-k)! ]^2 \equiv k^2 \pmod{p}$

จากนั้นก็กระจาย $$\binom{2p}{p} = 2+\sum_{k=1}^{p-1} \frac{(p!)^2}{[k!(p-k)!]^2} \equiv 2+2(p!)^2 \sum_{k=1}^{\frac{p-1}{2}} [k!(p-k)!]^2 \pmod{p}$$

apply lemma ได้ $$\sum_{k=1}^{\frac{p-1}{2}} [k!(p-k)!]^2 \equiv \sum_{k=1}^{\frac{p-1}{2}} k^2 \pmod{p}$$

พิสูจน์ต่ออีกหน่อยว่า $1^2+2^2+\cdots+\Big( \dfrac{p-1}{2} \Big)^2 \equiv 0 \pmod{p}$ ก็จบแล้วครับ
__________________
keep your way.

05 มกราคม 2012 20:10 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ PP_nine
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #165  
Old 06 มกราคม 2012, 06:44
จูกัดเหลียง's Avatar
จูกัดเหลียง จูกัดเหลียง ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2011
ข้อความ: 1,234
จูกัดเหลียง is on a distinguished road
Default

#164 อื้อหือ ขอบคุณมากๆครับ ยังไงช่วย Hint อสมการหน่อยดิครับ
ปล. พึ่งรู้จัก Lemma ตัวนี้ (หามาจากไหนอ่ะครับ)
__________________
Vouloir c'est pouvoir
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply



กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 15:02


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha