Mathcenter Forum  

Go Back   Mathcenter Forum > คณิตศาสตร์มัธยมศึกษา > ปัญหาคณิตศาสตร์ ม. ต้น
สมัครสมาชิก คู่มือการใช้ รายชื่อสมาชิก ปฏิทิน ข้อความวันนี้

ตั้งหัวข้อใหม่ Reply
 
เครื่องมือของหัวข้อ ค้นหาในหัวข้อนี้
  #226  
Old 05 สิงหาคม 2010, 04:40
nooonuii nooonuii ไม่อยู่ในระบบ
ผู้พิทักษ์กฎทั่วไป
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 พฤษภาคม 2001
ข้อความ: 6,408
nooonuii is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Xx GAMMA xX View Post
1.จงหาเศษจากการหาร 111...1 (มี1อยู่2008ตัวครับ) ด้วย41
ลองมองหารูปแบบการวนซ้ำของเศษเหลือครับ หรือจะทำออกมาตรงๆแบบนี้ก็ได้

$\underbrace{11\cdots 111}_{2008} =11111(10000100001\cdots 100001000)+111$
__________________
site:mathcenter.net คำค้น
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #227  
Old 05 สิงหาคม 2010, 08:13
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Xx GAMMA xX View Post
1.จงหาเศษจากการหาร 111...1 (มี1อยู่2008ตัวครับ) ด้วย41
เอาแบบง่ายๆก็ได้ครับ ตัวหารเป็นจำนวนเฉพาะแล้ว ก็ลองตั้งหารดูเลยครับ

$\because \frac{1}{41} \ \ $ เหลือเศษ 1

$\because \frac{11}{41} \ \ $ เหลือเศษ 11

$\because \frac{111}{41} \ \ $ เหลือเศษ 29

$\because \frac{1111}{41} \ \ $ เหลือเศษ 4

$\because \frac{11111}{41} \ \ $ เหลือเศษ 0

$\because \frac{111111}{41} \ \ $ เหลือเศษ 1

$\because \frac{1111111}{41} \ \ $ เหลือเศษ 11

.
.
.

วน 5 รอบ

2008 หารด้วย 5 เหลือเศษ 3 ตรงกับหมายเลข 29

ตอบ เหลือเศษ 29
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #228  
Old 05 สิงหาคม 2010, 14:59
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Xx GAMMA xX View Post
2.$\frac{1}{2(0!)}+\frac{1}{3(1!)}+...+\frac{1}{n((n-3)!)}=\frac{a}{b}$
จงหาค่าของ $b-a$ เมื่อ $\frac{a}{b}$ เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ
โจทย์ข้อนี้เป็นแบบนี้หรือเปล่าครับ

อ้างอิง:
2.$\frac{1}{2(0!)}+\frac{1}{3(1!)}+...+\frac{1}{n((n-\color{red}{2})!)}=\frac{a}{b}$
จงหาค่าของ $b-a$ เมื่อ $\frac{a}{b}$ เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ

$\frac{1}{2(0!)}+\frac{1}{3(1!)}+\frac{1}{4(2!)} +\frac{1}{5(3!)}+ ...+\frac{1}{n((n-\color{red}{2})!)}$

$ = \frac{1}{2!} + \frac{2}{3\cdot2(1!)} +\frac{3}{4\cdot3(2!)} + \frac{4}{5\cdot4(3!)} +... +\frac{n-1}{n!}$

$ = \frac{1}{2!} +\frac{2}{3!} + \frac{3}{4!} + \frac{4}{5!} + .... + \frac{n-1}{n!}$ ...(*)




$ \because \ \ \frac{n-1}{n!}=\frac{n}{n!}-\frac{1}{n!}=\frac{n}{n(n-1)!}-\frac{1}{n!} =\frac{1}{(n-1)!}-\frac{1}{n!} $



$\therefore \frac{1}{2!}+\frac{2}{3!}+\frac{3}{4!}+...+\frac{n-1}{n!}
=\frac{1}{1!}-\frac{1}{2!}+\frac{1}{2!}-\frac{1}{3!}+...+\frac{1}{(n-1)!}-\frac{1}{n!}
=1-\frac{1}{n!}=\frac{n!-1}{n!} $



ก็จะได้ $\frac{1}{2(0!)}+\frac{1}{3(1!)}+\frac{1}{4(2!)} +\frac{1}{5(3!)}+ ...+\frac{1}{n((n-\color{red}{2})!)} = \frac{n!-1}{n!} = \frac{a}{b}$

$b-a = (n!) - (n!-1) = 1$
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #229  
Old 05 สิงหาคม 2010, 20:14
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

ขอลงทีเดียวเลยนะครับ
1. จงหาค่าของ $tan25tan70 - tan70 + tan25$
2. กำหนดให้ $g(x) = x^5+x^4+x^3+x^2+x+1$ เศษเหลือจากการหาร $g(x^{12})$ ด้วย $g(x)$ คือ
3. ให้ (a,b,c) เป็นจำนวนจริงในระแบบสมการ $x^3-xyz = 2 ,y^3-xyz = 6 ,z^3-xyz = 20$ โดยนำค่า $x^3+y^3+z^3$น้อยที่สุด มาเขียนในรูป $\frac{m}{n}$ โดย $n$ เป็นจำนวนเฉพาะที่น้อยที่สุด จงหา $m+n$
__________________
Fortune Lady

05 สิงหาคม 2010 20:15 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Siren-Of-Step
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #230  
Old 05 สิงหาคม 2010, 20:47
~ArT_Ty~'s Avatar
~ArT_Ty~ ~ArT_Ty~ ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณไร้สภาพ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 03 กรกฎาคม 2010
ข้อความ: 1,081
~ArT_Ty~ is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
ขอลงทีเดียวเลยนะครับ
1. จงหาค่าของ $tan25tan70 - tan70 + tan25$
$\tan 25^\circ \tan 70^\circ - \tan 70^\circ + \tan 25^\circ $

$=\tan 25^\circ \tan (45+25)^\circ -\tan (45+25)^\circ +\tan 25^\circ$

$=\tan 25^\circ (\frac{1+\tan 25^\circ }{1-\tan 25^\circ } )-(\frac{1+\tan 25^\circ }{1-\tan 25^\circ } )+\tan 25^\circ$

$=\frac{(\tan 25^\circ -1)(\tan 25^\circ +1)}{-(\tan 25^\circ -1)}+tan 25^\circ $

$=-\tan 25^\circ -1+\tan 25^\circ $

$=-1$
__________________
...สีชมพูจะไม่จางด้วยเหงื่อ แต่จะจางด้วยนํ้าลาย...
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #231  
Old 05 สิงหาคม 2010, 21:16
tongkub tongkub ไม่อยู่ในระบบ
ลมปราณคุ้มครองร่าง
 
วันที่สมัครสมาชิก: 22 ธันวาคม 2009
ข้อความ: 312
tongkub is on a distinguished road
Default

ข้อ 1 อีกวิธีครับ

$tan( 70 - 25 ) = \frac{tan70 - tan25}{1 + tan70tan25}$
$1 = \frac{tan70 - tan25}{1+ tan70tan25}$
$( 1 + tan70tan25) = tan 70 - tan 25$

$tan70tan25 - tan70 + tan25 = -1$
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #232  
Old 05 สิงหาคม 2010, 21:24
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

เชิญสนุกกับข้อที่เหลือครับ
__________________
Fortune Lady
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #233  
Old 06 สิงหาคม 2010, 11:02
banker banker ไม่อยู่ในระบบ
เทพเซียน
 
วันที่สมัครสมาชิก: 24 มกราคม 2002
ข้อความ: 9,910
banker is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
ขอลงทีเดียวเลยนะครับ

2. กำหนดให้ $g(x) = x^5+x^4+x^3+x^2+x+1$ เศษเหลือจากการหาร $g(x^{12})$ ด้วย $g(x)$ คือ

$g(x) = x^5+x^4+x^3+x^2+x+1$

ถ้าเราเอา $(x-1)$ คูณ ก็จะได้ $(x-1)g(x) = (x-1)(x^5+x^4+x^3+x^2+x+1) = x^6-1$


จากโจทย์ $\ \ g(x^{12}) = x^{60}+x^{48}+x^{36}+x^{24}+x^{12}+1$

แปลงร่างเป็น $\ \ g(x^{12}) = (x^{60}-1)+(x^{48}-1)+(x^{36}-1)+(x^{24}-1)+(x^{12}-1)+1 +5$

จะทำให้ แต่ละพจน์คือ $(x^{60}-1), \ (x^{48}-1), \ (x^{36}-1), \ (x^{24}-1), \ (x^{12}-1) \ \ $ หารด้วย $(x^6-1)$ลงตัว

สมมุติหารแล้วได้ผลลัพธ์เป็น $A$ ก็จะได้ว่า

$\ \ g(x^{12}) = (x^{60}-1)+(x^{48}-1)+(x^{36}-1)+(x^{24}-1)+(x^{12}-1)+6 = A \cdot (x^6-1)+6 = A \cdot (x-1)g(x) + 6$


ดังนั้น เศษเหลือจากการหาร $g(x^{12})$ ด้วย $g(x)$ คือ 6

เล่นง่ายๆแบบนี้แหละ
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน
แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว
เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว

ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก


รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ
(ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี)
(แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด)
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #234  
Old 06 สิงหาคม 2010, 18:04
Xx GAMMA xX's Avatar
Xx GAMMA xX Xx GAMMA xX ไม่อยู่ในระบบ
จอมยุทธ์หน้าหยก
 
วันที่สมัครสมาชิก: 08 พฤษภาคม 2010
ข้อความ: 169
Xx GAMMA xX is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ banker View Post
โจทย์ข้อนี้เป็นแบบนี้หรือเปล่าครับ




$\frac{1}{2(0!)}+\frac{1}{3(1!)}+\frac{1}{4(2!)} +\frac{1}{5(3!)}+ ...+\frac{1}{n((n-\color{red}{2})!)}$

$ = \frac{1}{2!} + \frac{2}{3\cdot2(1!)} +\frac{3}{4\cdot3(2!)} + \frac{4}{5\cdot4(3!)} +... +\frac{n-1}{n!}$

$ = \frac{1}{2!} +\frac{2}{3!} + \frac{3}{4!} + \frac{4}{5!} + .... + \frac{n-1}{n!}$ ...(*)

$ \because \ \ \frac{n-1}{n!}=\frac{n}{n!}-\frac{1}{n!}=\frac{n}{n(n-1)!}-\frac{1}{n!} =\frac{1}{(n-1)!}-\frac{1}{n!} $



$\therefore \frac{1}{2!}+\frac{2}{3!}+\frac{3}{4!}+...+\frac{n-1}{n!}
=\frac{1}{1!}-\frac{1}{2!}+\frac{1}{2!}-\frac{1}{3!}+...+\frac{1}{(n-1)!}-\frac{1}{n!}
=1-\frac{1}{n!}=\frac{n!-1}{n!} $



ก็จะได้ $\frac{1}{2(0!)}+\frac{1}{3(1!)}+\frac{1}{4(2!)} +\frac{1}{5(3!)}+ ...+\frac{1}{n((n-\color{red}{2})!)} = \frac{n!-1}{n!} = \frac{a}{b}$

$b-a = (n!) - (n!-1) = 1$
ขอโทษด้วยครับคุณbankerผมผิดไปแล้วคร้บ
คุณbankerทำวิธีได้ดีมากเลยครับ

ปล.แก้ให้แล้วนะครับเผื่อคนเข้ามาอ่านจะได้ไม่เสียเวลาคิด

06 สิงหาคม 2010 18:08 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Xx GAMMA xX
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #235  
Old 06 สิงหาคม 2010, 19:23
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

เหลืออีกข้อครับ เชิญโซ้ยเลยครับ
__________________
Fortune Lady
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #236  
Old 06 สิงหาคม 2010, 21:23
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย's Avatar
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 647
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย is on a distinguished road
Default

อ้างอิง:
ข้อความเดิมเขียนโดยคุณ Siren-Of-Step View Post
ขอลงทีเดียวเลยนะครับ
3. ให้ (a,b,c) เป็นจำนวนจริงในระแบบสมการ $x^3-xyz = 2 ,y^3-xyz = 6 ,z^3-xyz = 20$ โดยนำค่า $x^3+y^3+z^3$น้อยที่สุด มาเขียนในรูป $\frac{m}{n}$ โดย $n$ เป็นจำนวนเฉพาะที่น้อยที่สุด จงหา $m+n$
ให้$xyz=a$
$x^3-xyz=2$ ได้ $x^3=2+a....(1)$
$y^3-xyz=6$ ได้ $y^3=6+a....(2)$
$z^3-xyz=20$ ได้ $z^3=20+a...(3)$
เอา 3 สมการคูณกัน
$a^3=(2+a)(6+a)(20+a)$
$a^3=a^3+28a^2+172a+240$
$28a^2+172a+240=0$
แก้สมการได้$a=-4 $กับ $a=-15/7$
ค่า$x^3+y^3+z^3=28+3a$ น้อยสุดเมื่อ$a=-4$
แต่ผมว่าข้อนี้น่าจะถามค่ามากสุดของ$x^3+y^3+z^3$นะครับ
ref:aime2010

06 สิงหาคม 2010 21:26 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #237  
Old 06 สิงหาคม 2010, 21:26
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

ผมถามน้อยสุดจะผิดอะไรไหมครับ
__________________
Fortune Lady

06 สิงหาคม 2010 21:26 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Siren-Of-Step
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #238  
Old 06 สิงหาคม 2010, 21:31
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย's Avatar
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 647
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย is on a distinguished road
Default

wow ไม่ผิดครับแต่ผมว่ามันจะทำให้งงนะครับ
ได้คำตอบเป็นจำนวนเต็มแล้วก็เอาให้มันเป็นเศษส่วนอีก 555
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #239  
Old 07 สิงหาคม 2010, 11:04
Siren-Of-Step's Avatar
Siren-Of-Step Siren-Of-Step ไม่อยู่ในระบบ
กระบี่ธรรมชาติ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 25 กันยายน 2009
ข้อความ: 2,081
Siren-Of-Step is on a distinguished road
Default

เอามาเพิ่มให้
จงหาเศษจากการหาร $9*99*999*9999*..........*\underbrace{9999.....}_{999 ตัว} ด้วย 10000$
__________________
Fortune Lady

07 สิงหาคม 2010 11:05 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Siren-Of-Step
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
  #240  
Old 07 สิงหาคม 2010, 11:47
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย's Avatar
กระบี่ประสานใจ
 
วันที่สมัครสมาชิก: 21 กุมภาพันธ์ 2009
ข้อความ: 647
กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย is on a distinguished road
Default

$9*99*999=890109$หารด้วย10000 เหลือเศษ 109
$9*99*999*9999$ถ้าจะดูเศษก็นำเศษจาก$9*99*999=890109$หารด้วย10000 คือ 109
มาคูณกับ 9999 ลัดขึ้นหน่อยก็ 10000+109(-1)=9891 เป็นเศษจากการหาร$9*99*999*9999$ด้วย10000
$9*99*999*9999*99999$ เนื่องจาก 99999 หารด้วย 10000 เหลือเศษ 9999
เราจะได้ $9891*9999$ ลัดอีกนิดได้ (-109)(-1)= 109 เป็นเศษจากการหาร$9*99*999*9999*99999$ด้วย10000
จากนี้ไปก็วนซ้ำแล้วครับ
ตอบ 109

07 สิงหาคม 2010 11:48 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย
ตอบพร้อมอ้างอิงข้อความนี้
ตั้งหัวข้อใหม่ Reply


หัวข้อคล้ายคลึงกัน
หัวข้อ ผู้ตั้งหัวข้อ ห้อง คำตอบ ข้อความล่าสุด
แฟนพันธุ์แท้ คณิตศาสตร์ Marathon nooonuii ปัญหาคณิตศาสตร์ทั่วไป 318 01 ตุลาคม 2021 21:29
Algebra Marathon nooonuii พีชคณิต 199 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08
Marathon Mastermander ฟรีสไตล์ 6 02 มีนาคม 2011 23:19
Inequality Marathon nongtum อสมการ 155 17 กุมภาพันธ์ 2011 00:48
Marathon ##วิทย์คำนวณ## คusักคณิm ปัญหาคณิตศาสตร์ ประถมปลาย 24 13 พฤษภาคม 2010 21:19


กฎการส่งข้อความ
คุณ ไม่สามารถ ตั้งหัวข้อใหม่ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบหัวข้อได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์และเอกสารได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความของคุณเองได้

vB code is On
Smilies are On
[IMG] code is On
HTML code is Off
ทางลัดสู่ห้อง


เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาที่ประเทศไทย (GMT +7) ขณะนี้เป็นเวลา 18:45


Powered by vBulletin® Copyright ©2000 - 2024, Jelsoft Enterprises Ltd.
Modified by Jetsada Karnpracha