#1
|
||||
|
||||
พหุนามยากครับ
กำหนด $a+b=3$, $ax+by=10$,$ax^2+by^2=16$ และ $ax^3+by^3=36$ จงหาค่าของ $ax^4+by^4$ เป็นเท่าใด
__________________
ท้อได้แต่อย่าถอย จงเดินสู้ต่อไปอย่างมีจุดหมาย ถึงแม้จะล้มสักกี่ครั้งก็ต้องลุกขึ้นใหม่สักวันต้องถึงจุดหมายปลายทางแน่นอน |
#2
|
||||
|
||||
$axy+by^2=10y$
$ax^2+bxy=10x$ $ax^2+by^2+(a+b)xy=10(x+y)$ $16=10(x+y)-3xy$...........(1) $ax^3+bxy^2=16x$ $ax^2y+by^3=16y$ $ax^3+by^3+xy(ax+by)=16(x+y)$ $16(x+y)-10xy=36$...........(2) $ax^4+bxy^3=36x$ $ax^3y+by^4=36y$ $ax^4+by^4+xy(ax^2+by^2)=36(x+y)$ $ax^4+by^4=36(x+y)-16xy$ (1)คูณด้วยสองบวกกับ(2) จะได้ $36(x+y)-16xy=32+36=68$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) 05 มิถุนายน 2012 23:06 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ |
#3
|
||||
|
||||
คารวะ10จอกครับ
|
#4
|
||||
|
||||
คุ้นๆว่ามีคนเคยถาม ผมจำได้ว่าทำประมาณนี้ครับ
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) |
#5
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
__________________
คณิตศาสตร์ คือ ภาษาสากล คณิตศาสตร์ คือ ความสวยงาม คณิตศาสตร์ คือ ความจริง ติดตามชมคลิปวีดีโอได้ที่ https://youtube.com/@krupoper?si=-iA8pgGliomfAUPA |
#6
|
||||
|
||||
รีบทำแล้วคิดผิด แก้แล้วครับคุณpoper
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) 05 มิถุนายน 2012 23:27 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ |
#7
|
||||
|
||||
ขอบคุณมากครับ คิดได้พอดีเลย
แต่ของคุณหมอกิตติง่ายกว่าที่ผมทำเยอะเลยครับ
__________________
คณิตศาสตร์ คือ ภาษาสากล คณิตศาสตร์ คือ ความสวยงาม คณิตศาสตร์ คือ ความจริง ติดตามชมคลิปวีดีโอได้ที่ https://youtube.com/@krupoper?si=-iA8pgGliomfAUPA |
#8
|
||||
|
||||
$ax^2+by^2 = (x+y)(ax+by)-xy(a+b)$
$= 10(x+y)-3xy .......(1)$ $ax^3+by^3 = (x+y)(ax^2+by^2)-xy(ax+by)$ $ =16(x+y)-10xy.......(2)$ $ax^4+by^4 = (x+y)(ax^3+by^3)-xy(ax^2+by^2)$ $ = 36(x+y)-16xy...........(3)$ สังเกตได้ว่า $(3) = 2*(1) + (2)$ $ax^4+by^4 = 2(ax^2+by^2)+(ax^3+by^3) =32+36 =68 $ |
#9
|
|||
|
|||
ถ้าสนใจโจทย์แนวนี้ ลองดูอีกข้อครับ
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#10
|
|||
|
|||
โจทย์สวยๆอีกข้อ (ยังไม่ได้ทำ)ถ้าใครสนใจก็ลองดูครับ
$ax + by + cz = 3$ $ax^2 + by^2 + cz^2 = 4$ $ax^3 + by^3 + cz^3 = 7$ $ax^4 + by^4 + cz^4 = 8$ $ax^5 + by^5 + cz^5 = 13$ $ax^6 + by^6 + cz^6 = 17$ แล้ว $ \ ax^7 + by^7 + cz^7 \ $ มีค่าเท่าใด
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#11
|
||||
|
||||
$(ax^2+by^2)(x+y)=7(x+y)$ $ax^3+by^3+xy(ax+by)=7(x+y)$ $16+3xy=7(x+y)$ $16=7(x+y)-3xy$.........(1) $(ax^3+by^3)(x+y)=16(x+y)$ $ax^4+by^4+xy(ax^2+by^2)=16(x+y)$ $42+7xy=16(x+y)$ $42=16(x+y)-7xy$...........(2) $(ax^4+by^4)(x+y)=42(x+y)$ $ax^5+by^5+xy(ax^3+by^3)=42(x+y)$ $ax^5+by^5=42(x+y)-16xy$ (1)คูณด้วย 6 $96=42(x+y)-18xy$ $42(x+y)-16xy=96+2xy$ (1)คูณด้วย 16 $16^2=16\times 7(x+y)-48xy$.......(3) (2)คูณด้วย 7 $6\times 7^2=16\times 7(x+y)-49xy$.........(4) (3)-(4) $16^2-6\times 7^2=xy$ $2xy=2(16^2-6\times 7^2)$ $=2(256-294)=-76$ $ax^5+by^5=42(x+y)-16xy=96-76=20$........ผิดตรงบรรทัดท้าย คำตอบที่ถูกคือ $ax^5+by^5=42(x+y)-16xy=96-(-76)=172$
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) 08 มิถุนายน 2012 11:01 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ |
#12
|
|||
|
|||
แถมอีกข้อ ง่ายๆ
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) 06 มิถุนายน 2012 13:31 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ banker |
#13
|
||||
|
||||
ผมทำแบบนี้ไม่รู้ว่าถูกไหมครับ
ให้ $ax^{n}+by^{n}=s_n$ เอา x คูณตลอด ได้ $ax^{n+1}+bxy^{n}=xs_n...(1)$ เอา y คูณตลอด ได้ $ax^{n}y+by^{n+1}=ys_n...(2)$ (1)+(2) และจัดรูปได้ $ax^{n+1}+by^{n+1}=(x+y)s_n-(xy)(ax^{n-1}+by^{n-1})$ หรือ $(x+y)s_n-(xy)s_{n-1}=s_{n+1}$ ถ้า $n=1$ ได้ $(x+y)s_1-(xy)s_{0}=s_{2}$ ได้ $10(x+y)-6(xy)=24$ ถ้า $n=2$ ได้ $(x+y)s_2-(xy)s_{1}=s_{3}$ ได้ $24(x+y)-10(xy)=62$ แก้ระบบสมการได้ $x+y=3 ,xy=1$ ดังนั้น $s_4=(x+y)s_3-(xy)s_2=3(62)-1(24)=162 $
__________________
ทั่วปฐพีมีความรู้ รอผู้แสวงหามาค้นพบ 07 มิถุนายน 2012 00:26 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กระบี่เดียวดายแสวงพ่าย |
#14
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
จาก $(ax^6 + by^6 + cz^6)(x+y+z) = 17(x+y+z)$ $ax^7 + by^7 + cz^7 +ax^6y+ax^6z+ bxy^6 + by^6z+cxz^6+cyz^6= 17(x+y+z)$ $ax^6y+ax^6z+ bxy^6 + by^6z+cxz^6+cyz^6=(ax^5 + by^5 + cz^5)(xy+yz+xz)-xyz(ax^4 + by^4 + cz^4)$ $=13(xy+yz+xz)-8xyz$ ดังนั้น $ax^7 + by^7 + cz^7=17(x+y+z)-13(xy+yz+xz)+8xyz$ เราทำแบบนี้กับสมการที่เหลือ จะได้ว่า $7(x+y+z)-4(xy+yz+xz)+3xyz=8$...........(1) $8(x+y+z)-7(xy+yz+xz)+4xyz=13$...........(2) $13(x+y+z)-8(xy+yz+xz)+7xyz=17$...........(3) (1)+(2) $15(x+y+z)-11(xy+yz+xz)+7xyz=21$.....(4) (4)-(3) $2(x+y+z)-3(xy+yz+xz)=4$.........(5) เดี๋ยวมาเขียนต่อ (2)-(1) $(x+y+z)-3(xy+yz+xz)+xyz=5$..........(6) (5)-(6) $(x+y+z)=xyz-1$..........(7) (3)-(2) $5(x+y+z)-(xy+yz+xz)+3xyz=4$..........(8) แทน (7) ใน (8) $xy+yz+xz=8xyz-9$..........(9) แทน (7),(9) ใน (1) $7xyz-7-32xyz+36+3xyz=8$ $22xyz=21\rightarrow xyz=\frac{21}{22} $ $17(x+y+z)-13(xy+yz+xz)+8xyz=25+(xy+yz+xz)+xyz$ $=25+(8xyz-9)+xyz$ $=16+9xyz$ $=16+9\left(\,\frac{21}{22}\right) $ $ax^7 + by^7 + cz^7=\frac{541}{22}$ ไม่รู้ว่าจะคิดผิดตรงไหน....ตาลาย
__________________
"ถ้าเราล้มบ่อยๆ ในที่สุดเราจะรู้ว่าถ้าจะล้ม ล้มท่าไหนจะเจ็บน้อยที่สุด และรู้อีกว่าต่อไปทำยังไงจะไม่ให้ล้มอีก ดังนั้นจงอย่ากลัวที่จะล้ม"...อาจารย์อำนวย ขนันไทย ครั้งแรกในชีวิตที่สอบคณิตสมาคมคณิตศาสตร์เมื่อปี2533...ผมได้แค่24คะแนน(จากร้อยคะแนน) 07 มิถุนายน 2012 15:26 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 3 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ กิตติ |
#15
|
||||
|
||||
ผมได้วิธีนี้ครับ
หาความสัมพันธ์แบบ vieta formula จะได้ว่า$s_n=(x+y+z)s_{n-1}-(xy+yz+xz)s_{n-2}+(xyz)s_{n-3}$ ได้ $s_4=(x+y+z)s_{3}-(xy+yz+xz)s_{2}+(xyz)s_{1}$หรือ $7(x+y+z)-4(xy+yz+xz)+3(xyz)=8...(1)$ $s_5=(x+y+z)s_{4}-(xy+yz+xz)s_{3}+(xyz)s_{2}$หรือ $8(x+y+z)-7(xy+yz+xz)+4(xyz)=13...(2)$ $s_6=(x+y+z)s_{5}-(xy+yz+xz)s_{4}+(xyz)s_{3}$หรือ $13(x+y+z)-8(xy+yz+xz)+7(xyz)=17...(3)$ แก้ระบบสมการได้ $x+y+z=\frac{-1}{22} ,xy+yz+xz=\frac{-15}{11},xyz=\frac{21}{22}$ ดังนั้น $s_7=(x+y+z)s_{6}-(xy+yz+xz)s_{5}+(xyz)s_{4}$หรือ $s_7=(\frac{-1}{22})(17)-(\frac{-15}{11})(13)+(\frac{21}{22})(8)=\frac{541}{22} $
__________________
ทั่วปฐพีมีความรู้ รอผู้แสวงหามาค้นพบ |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|