#106
|
||||
|
||||
ไม่รู้ว่าโจทย์แบบนี้เคยทำกันหรือยังผมว่าน่าสนใจดีครับ
Evaluate $$\int_{0}^{1}\left(\pi\bigg\lfloor\frac{1}{x}\bigg\rfloor -\bigg\lfloor\frac{\pi}{x}\bigg\rfloor\right) dx$$
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
|
#107
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
(I) ให้ $r_n=n/\pi,\,\,a_n=\lfloor n/\pi\rfloor$ อินทิกรัลเป็นชนิด improper ดังนั้นเราคำนวณ $\lim_{n\to\infty}\int_{1/r_n}^1(\pi\lfloor1/x\rfloor-\lfloor\pi/x\rfloor)\,dx$ คิดอินทิกรัลก่อนโดยแยกเป็นสองเทอม เทอมแรกเท่ากับ \[ \int_{1/r_n}^1\pi\Big\lfloor\frac{1}{x}\Big\rfloor\,dx=\int_{1/2}^1+\int_{1/3}^{1/2}+\cdots +\int_{1/r_n}^{1/a_n}=\frac{\pi}{2}+\frac{\pi}{3}+\cdots+\frac{\pi}{a_n}+\pi a_n\Big(\frac{1}{a_n}-\frac{1}{r_n}\Big) \] เทอมสองเท่ากับ \[ \int^{1}_{1/r_n}\Big\lfloor\frac{\pi}{x}\Big\rfloor\,dx=\int_{\pi/4}^1+\int_{\pi/5}^{\pi/4} +\cdots+\int^{\pi/(n-1)}_{\pi/n}=3\Big(1-\frac{\pi}{4}\Big) +\frac{\pi}{5}+\cdots+\frac{\pi}{n} \] (II) ผลต่างเท่ากับ $\frac{\pi}{2}+\frac{\pi}{3}+\frac{\pi}{4}-3(1-\frac{\pi}{4})-\pi a_n(\frac{1}{a_n}-\frac{\pi}{n})-(\frac{\pi}{a_n+1} +\cdots+\frac{\pi}{n})$ (III) สังเกตุว่า $\lim_{n\to\infty}\frac{a_n}{n}=\frac{1}{\pi}$ ดังนั้น \[ \lim_{n\to\infty}\pi a_n\Big(\frac{1}{a_n}-\frac{\pi}{n}\Big)=0 \] เทอมอนุกรมมองเป็น approximate (upper) Riemann sum ดังนี้ \[ \frac{\pi}{a_n+1}+\cdots+\frac{\pi}{n}=\frac{1}{n}\Big(\frac{\pi}{a_n/n+1/n} +\frac{\pi}{a_n/n+2/n}\cdots+\frac{\pi}{1}\Big) \] ดังนั้นลิมิตเมื่อ $n\to\infty$ ได้เท่ากับ $\int_{1/\pi}^1\frac{\pi}{x}\,dx=\pi\ln\pi$ สรุปอินทิกรัลเท่ากับ $\frac{\pi}{2}+\frac{\pi}{3}+\frac{\pi}{4}-3(1-\frac{\pi}{4})-\pi\ln\pi$ 16 พฤษภาคม 2008 01:48 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Punk เหตุผล: พิมพ์ผิด |
#108
|
||||
|
||||
ผมเข้าใจว่าอาจารย์Punkน่าจะลืมลบพจน์ $\displaystyle{3\left(1-\frac{\pi}{4}\right)}$ ออกครับ
ถ้าลบพจน์นั้นออกด้วยคำตอบก็เท่ากันครับ My Solution $$I=\int_{0}^{1}\left( r\left\lfloor\frac{1}{x}\right\rfloor -\bigg\lfloor\frac{r}{x}\bigg\rfloor\right)dx,\forall r\in\mathbb{R}^{+}$$ Lemma : $\displaystyle{L=\lim_{n\rightarrow\infty}\left[\frac{1}{\lfloor an\rfloor+1}+\frac{1}{\lfloor an\rfloor+2}+\cdots+\frac{1}{\lfloor bn\rfloor}\right]=\ln\frac{b}{a},\forall a,b\in\mathbb{R},b>a>0}$ Proof : $\displaystyle{L=\lim_{n\rightarrow\infty}\frac{1}{n}\left[\frac{1}{\frac{\lfloor an\rfloor}{n}+\left(\frac{1}{n}\right)}+\frac{1}{\frac{\lfloor an\rfloor}{n}+\left(\frac{2}{n}\right)}+\cdots+\frac{1}{\left(\frac{\lfloor bn\rfloor}{n}\right)}\right]=\lim_{n\rightarrow\infty}\int_{\frac{\lfloor an\rfloor}{n}}^{\frac{\lfloor bn\rfloor}{n}}\frac{dx}{x}}$ $\displaystyle{x-1<\lfloor x\rfloor\leq x\rightarrow\lim_{n\rightarrow\infty}\ln\left(\frac{bn-1}{an}\right)<L<\lim_{n\rightarrow\infty}\ln\left(\frac{bn}{an-1}\right)\rightarrow L=\ln\frac{b}{a}}$ Case : $r\in (0,1)\rightarrow I=-r\ln r$ $$I=\int_{0}^{1}\left( r\left\lfloor\frac{1}{x}\right\rfloor -\bigg\lfloor\frac{r}{x}\bigg\rfloor\right)dx=\lim_{n\rightarrow\infty}\int_{\frac{1}{n}}^{1}\left( r\left\lfloor\frac{1}{x}\right\rfloor -\bigg\lfloor\frac{r}{x}\bigg\rfloor\right)dx$$ $$=\lim_{n\rightarrow\infty}r\int_{\frac{1}{n}}^{1}\bigg\lfloor\frac{1}{x}\bigg\rfloor dx-\lim_{n\rightarrow\infty}\int_{\frac{1}{n}}^{1}\bigg\lfloor\frac{r}{x}\bigg\rfloor dx=r\lim_{n\rightarrow\infty}\left(\int_{rn}^{n}\frac{\lfloor x\rfloor}{x^{2}}dx-\int_{r}^{1}\frac{\lfloor x\rfloor}{x^{2}}dx\right)$$ $$=r\lim_{n\rightarrow\infty}\sum_{k=\lfloor rn\rfloor}^{n-1}\left[-\frac{k}{x}\right]_{k}^{k+1}=r\lim_{n\rightarrow\infty}\left[\frac{1}{\lfloor rn\rfloor+1}+\frac{1}{\lfloor rn\rfloor+2}+\cdots+\frac{1}{n}\right]=-r\ln r$$ Case : $r=1\rightarrow I=0$ Case : $r>1\rightarrow I=rH(\lfloor r\rfloor)-\lfloor r\rfloor-r\ln r$ $$I=\int_{0}^{1}\left( r\left\lfloor\frac{1}{x}\right\rfloor -\bigg\lfloor\frac{r}{x}\bigg\rfloor\right)dx=r\lim_{n\rightarrow\infty}\left(\int_{1}^{r}\frac{\lfloor x\rfloor}{x^{2}}dx-\int_{n}^{rn}\frac{\lfloor x\rfloor}{x^{2}}dx\right)$$ $$=r\left(\sum_{k=1}^{\lfloor r\rfloor-1}\left[-\frac{k}{x}\right]_{k}^{k+1}+\int_{\lfloor r\rfloor}^{r}\frac{\lfloor r\rfloor}{x^{2}}dx-\ln r\right)=rH(\lfloor r\rfloor)-\lfloor r\rfloor-r\ln r$$
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
17 พฤษภาคม 2008 10:03 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 2 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ Timestopper_STG |
#109
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
แล้วก็ $ sn-1 < {\lfloor sn \rfloor} \leq sn $ น่าจะช่วยได้แล้วนะครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#110
|
||||
|
||||
ขอบคุณครับพี่passer-by
แล้วแบบถ้าเปลี่ยนเป็นแบบนี้ใช้ได้หรือยังครับ อีกเรื่องคือเวลาเราจะพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ว่าพจน์2พจน์มีค่าประมาณกันนี่ต้องทำยังไงครับใช้o(),O()หรือเปล่าครับ
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
|
#111
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
ส่วนเรื่องใช้ Big O ก็เป็นทางเลือกนึงครับ แต่ที่ผมเขียนข้างบน เรียกว่า A is asymptotic to B $ \Leftrightarrow \lim_{x \rightarrow \infty} \frac{A(x)}{B(x)}=1 $ ครับ ก็คือเป็นการบอกว่า A กับ B มี limit เท่ากัน เมื่อ $ x \rightarrow \infty$ ข้อดีของการเรื่อง asymptotic limit ที่เห็นบ่อยๆคือการ approximate n! ใน Stirling's formula ครับ
__________________
เกษียณตัวเอง ปลายมิถุนายน 2557 แต่จะกลับมาเป็นครั้งคราว |
#112
|
|||
|
|||
มีโจทย์สวยๆมาฝากครับ ไม่รุ้ว่าเคยทำกันยัง
Find the limit \[ \mathop {\lim }\limits_{n \to \infty } \frac{1}{n}\sum\limits_{m = 1}^{n - 1} {\left( {\left\lceil {\frac{n}{m}} \right\rceil - \frac{n}{m}} \right)} \] ปล. โจทย์คือ Ceiling Function นะครับ แต่ทำไมผมเห็นเป็น Floor Function หว่า ? 17 พฤษภาคม 2008 14:57 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ V.Rattanapon |
#113
|
||||
|
||||
ผมก็เห็นเป็น Floor Function ครับ
ขอถามอะไรด้วยครับ O( ) นี่คืออะไรครับ คืออ่านใน wikipedia แล้วมันงงๆ ช่วยอธิบายให้ทีครับ |
#114
|
|||
|
|||
Big O ลองอ่านได้ที่ http://en.wikipedia.org/wiki/Big_O_notation
ปล. แต่โค้ดที่ใช้พิมพ์มันเป็น Ceiling Function นี่หว่า งง ? |
#115
|
||||
|
||||
ผมเห็นเป็น Ceiling นะครับอาจจะเกี่ยวกับ font ที่มีในเครื่องว่ามีไม่ครบหรือเปล่าครับ???
__________________
$$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x-b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$ BUT $$\int_{0}^{\frac{\pi}{2}}\frac{a\cos x+b\sin x}{a\sin x+b\cos x}dx=\frac{\pi ab}{a^{2}+b^{2}}+\frac{a^{2}-b^{2}}{a^{2}+b^{2}}\ln\left(\frac{a}{b}\right)$$
|
#116
|
||||
|
||||
ทำไมผมเห็นอันที่ควรจะเป็น floor กลับเป็น ceiling ส่วนอันที่เป็น ceiling ดันไปเป็น floor ล่ะเนี่ย...
|
#117
|
|||
|
|||
อ้างอิง:
\mathop {\lim }\limits_{n \to \infty } \frac{1}{n}\sum\limits_{m = 1}^{n - 1} {\left( {\left\lceil {\frac{n}{m}} \right\rceil - \frac{n}{m}} \right)} = \int\limits_{0 + }^1 {\left( {\left\lceil {\frac{1}{x}} \right\rceil - \frac{1}{x}} \right)} dx \] \[ = \sum\limits_{n = 1}^\infty {\int\limits_{\frac{1}{{n + 1}}}^{\frac{1}{n}} {\left( {\left\lceil {\frac{1}{x}} \right\rceil - \frac{1}{x}} \right)dx} } \] \[ = \sum\limits_{n = 1}^\infty {\left( {\frac{1}{n} + \ln n - \ln \left( {n + 1} \right)} \right)} \] \[ = \mathop {\lim }\limits_{m \to \infty } \left( {H_m - \ln \left( {1 + m} \right)} \right) \] \[ = \gamma \] |
#118
|
||||
|
||||
อ้างอิง:
อ้างอิง:
อ้างอิง:
__________________
The difference between school and life? In school, you're taught a lesson and then given a test. In life, you're given a test that teaches you a lesson. |
#119
|
|||
|
|||
ขอบคุณมากครับ
ปล. เห็นสมการคณิตศาสตร์ สวยกว่าเดิมมากเลยครับ |
#120
|
||||
|
||||
ขอถามอีกเรื่องนึงได้ไหมครับ... บางที่พวกตัวห้อยของลิมิตหรือพวก summation บางครั้งผมเห็็นมัันห้อยเฉียงๆ ซึ่งจริงๆแล้วมันควรจะห้อยด้านล่างครับ... แล้วผมก็ install texfonts ไปแล้วด้วยครับ ช่วยอธิบายให้ทีครับ
ตอนก่อน install ก็ว่า LaTeX สวยแล้วนะครับ แต่พอ install แล้วมันสวยขึ้นกว่าเดิม... 20 พฤษภาคม 2008 18:20 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ owlpenguin เหตุผล: พิมพ์ผิดขอรับ |
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
Geometry marathon | Char Aznable | เรขาคณิต | 78 | 26 กุมภาพันธ์ 2018 21:56 |
Algebra Marathon | nooonuii | พีชคณิต | 199 | 20 กุมภาพันธ์ 2015 10:08 |
Marathon | Mastermander | ฟรีสไตล์ | 6 | 02 มีนาคม 2011 23:19 |
Inequality Marathon | nongtum | อสมการ | 155 | 17 กุมภาพันธ์ 2011 00:48 |
Calculus Marathon | nooonuii | Calculus and Analysis | 222 | 26 เมษายน 2008 03:52 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|