|
สมัครสมาชิก | คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | ข้อความวันนี้ | ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว |
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
#1
|
||||
|
||||
Mathcenter Contest Round 1/2011 Longlist
__________________
คนไทยร่วมใจอย่าใช้ภาษาวิบัติ ฝึกพิมพ์สัญลักษณ์สักนิด ชีวิต(คนตอบและคนถาม)จะง่ายขึ้นเยอะ (จริงๆนะ) Stay Hungry. Stay Foolish. |
#2
|
|||
|
|||
คำตอบของผม สงสัยผิดอานเลย
มัธยมต้น ตอนที่ 1 ข้อ1. ตอบ -222 ข้อ2. ตอบ 9 ตารางหน่วย ข้อ3. ตอบ มีหลายคำตอบ {a, b} = {1,2}, {2,1}, {1,5}, {5,1}, {1,10}, {10,1}, {1,17}, {17,1}, {1,26}, {26,1}, {1,37}, {37,1}, ... {2,5}, {5,2}, ข้อ4. ตอบ ข้อ5. ตอบ 123 ข้อ6. ตอบ $\frac{\sqrt{3} }{4} \times 181^2 \ $ตารางหน่วย (x=y=z = 181 = สามเหลี่ยมด้านเท่า) ข้อ7. ตอบ $\frac{19}{4}- 2\sqrt{5} \ $หรือ$ \ \approx 0.277864 \ $ ตารางหน่วย ข้อ8. ตอบ 6492 ข้อ9. ตอบ $\frac{9}{2}$ หรือ 4.5 (ส่วนอีกคำตอบ 2 นั้นไม่เป็นจริงในเงื่อนไข a>b>c>d>0) ข้อ10. ตอบ 441 ข้อ11. ตอบ a+b+c = 6+2+1 = 9 ข้อ12. ตอบ $\frac{k^4+24k+16}{4k(4+k^2)}$ ข้อ13. ตอบ = $999^2$ หรือ $998001 $ ข้อ14. ตอบ xyz = 1
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) 01 กรกฎาคม 2011 14:32 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ banker เหตุผล: แก้คำผิด |
#3
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 2
อย่างละ 2 ตัว $ \ \frac{M}{N} = \frac{1001}{1001} = \frac{7\times 11 \times 13}{7\times 11 \times 13} = \frac{1}{1} = \frac{a}{b} \to a+b = 2$ อย่างละ 3 ตัว $ \ \frac{M}{N} = \frac{100011}{110001} = \frac{3\times 17 \times 37 \times 53}{3\times 37 \times 991} = \frac{ 901}{ 991} = \frac{a}{b} \to a+b = 1892$ อย่างละ 4 ตัว $ \ \frac{M}{N} = \frac{10000111}{11100001} = \frac{11 \times101 \times 9001}{11\times 97 \times 101 \times 103 } = \frac{9001}{9991} = \frac{a}{b} \to a+b = 18992$ อย่างละ 5 ตัว $ \ \frac{M}{N} = \frac{1000001111}{1111000001} = \frac{41\times 271 \times 90001}{41\times 271 \times 99991} = \frac{90001}{99991} = \frac{a}{b} \to a+b = 189992$ อย่างละ 6 ตัว $ \ \frac{M}{N} = \frac{100000011111}{111110000001} = \frac{3\times 7 \times 11 \times 13 \times 37 \times 900001}{3\times 7 \times 11 \times 13 \times 17 \times 37 \times 59 \times 997} = \frac{900001}{999991} = \frac{a}{b} \to a+b =1899992$ . . . อย่างละ 1001 ตัว $ \ \ a+b =18$\(\overbrace{999\cdots999}^{เลข9 จำนวน 999 ตัว}\)$2$ ผลบวกเลขโดดของ a+b เท่ากับ 1+8+9(999) +2 = 9002 ตอนที่ 2 ทำได้ข้อเดียว แต่ข้อเดียว ถ้าถูก ก็ดีใจโคตรๆแล้วแหละที่ทำของScylla_Shadow ได้
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#4
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 1
อ้างอิง:
สามเหลี่ยม $ ADB \ \ \ \frac{BD}{sin 60^\circ } = \frac{AD}{sin q^\circ } = \frac{3}{\frac{\sqrt{3} }{2}} = 2\sqrt{3} $ แต่ $sin q^\circ = \frac{AD}{AB} \ \ \ $ (สามเหลี่ยม ACD มี ADC เป็นมุมฉาก) ดังนัี้น $\frac{AD}{sin q^\circ} = \frac{AD}{\frac{AD}{AB}} = 2\sqrt{3} ---> AC = 2\sqrt{3} = $เส้นผ่าศูนย์กลางวงกลม ให้ O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม เชื่อม $OD, OB$ จะได้ BOD เป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่ว MOB = 30 องศา เพราะว่า ABCD แนบในวงกลม (มุมตรงข้ามรวมกันเท่ากับ 180 องศา) $AM \cdot MC = DM \cdot MB$ $(\sqrt{3} + OM)(\sqrt{3} - OM) = 2$ $OM = 1 ---> $มุม $MOB = 30 $องศา ----> มุม DOC = 90 องศา ---> ACD เป็นสามเหลี่ยมมุมฉากหน้าจั่ว พื้นที่สามเหลี่ยม $ ACD = \frac{1}{2} (2\sqrt{3})^2 = 6$ ตารางหน่วย พื้นที่สามเหลี่ยม $ABC = 3 $ ตราางหน่วย พื้นที่สี่เหลี่ยม ABCD = 6+3 = 9 ตารางหน่วย
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#5
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 1
อ้างอิง:
ถ้าเราให้ a = 1 จะได้ $ 0+ \sqrt{b-1} =\sqrt{b-1}$ นั่นคือ $b = n^2+1 \ $ เช่น $b = 2^2+1 \ $ จะได้ $\sqrt{5-1} =\sqrt{5-1} \ \ \ ----> 2 = 2$ $b = 3^2+1 \ $ จะได้ $\sqrt{10-1} =\sqrt{10-1} \ \ \ ----> 3 = 3$ จะได้ {a,b} ไม่จำกัด ทำนองเดียวกัน ถ้าให้ b =1 ก็จะได้ {a,b} ไม่จำกัด {a, b} = {1,2}, {2,1}, {1,5}, {5,1}, {1,10}, {10,1}, {1,17}, {17,1}, {1,26}, {26,1}, {1,37}, {37,1}, ... อย่างไรก็ตาม อีกค่าที่เป็นไปได้ คือ {a,b} = {2,5}, {5,2}
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#6
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 1
อ้างอิง:
$(x-a)(x-b)(x-c) = 0$ $x^3-(a+b+c)x^2 +(ab+ac+bc)x -abc =0$ เทียบสปส กับ $x^3-543x^2+2011x-2554=0$ จะได้ $a+b+c = 543$ .....(1) $ ab+ac+bc =2011$ .....(2) $abc = 2554$ .....(3) $(a+b+c)^2 = a^2+b^2+c^2 +2(ab+ac+bc)$ $a^2+b^2+c^2 = 543^2 -2(2011) = 290827$ ...(4) $(a+b+c)^3 = a^3+3 a^2 b+3 a^2 c+3 a b^2+6 a b c+3 a c^2+b^3+3 b^2 c+3 b c^2+c^3$ $543^3 = a^3+b^3+c^3 + 6abc + 3ab(a+b) + 3ac(a+c) +3bc(b+c)$ $160103007 = a^3+b^3+c^3 + 6abc + 3ab(543-c) + 3ac(543-b) +3bc(543-a)$ $160103007 = a^3+b^3+c^3 + 6abc + 3\cdot 543ab -3abc + 3\cdot 543ac -3abc +3\cdot 543bc -3abc$ $160103007 = a^3+b^3+c^3 - 3abc + 3\cdot 543(ab+bc+ca)$ $160103007 = a^3+b^3+c^3 - 3\cdot 2554 + 3\cdot 543(2011)$ $ a^3+b^3+c^3 = 160103007 + 7662 - 3275919 = 156834750$ ...(5) $\displaystyle\sum_{k=0}^3 a^k+b^k+c^k = (a^3+b^3+c^3) + (a^2+b^2+c^2) + (a+b+c) +(a^0+b^0+c^0)$ $ = 156834750 +290827 +543 + 3 = 157126123$ สามหลักสุดท้ายคือ 123
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#7
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 1
อ้างอิง:
ดังนั้นแต่ละจำนวนจึงเป็น 0 จะได้ x = y = z แต่ x+y+z = 543 ดังนั้น x = y = z = 181 สามเหลี่ยมนี้เป็นสามเหลี่ยมด้านเท่า มีด้านยาวด้านละ 181 หน่วย พื้นที่จึงเท่ากับ $\frac{\sqrt{3} }{4} \cdot 181^2 $ตารางหน่วย
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#8
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 1
อ้างอิง:
เส้นรอบรูปยาว 2 $4x +2y =2$ $2x+y =1 ----> y = 1-2x$ ......(1) ฺ$BM^2 = \frac{x^2}{4} + (\frac{3x}{2})^2 = \frac{10x^2}{4} $ ....(2) ฺ$FM^2 = 2(\frac{x}{2}+y)^2 = \frac{x^2}{2} +2xy + 2y^2 $ ....(3) (สามเหลี่ยมมุมฉากหน้าจั่ว FMN) (2)=(3) $ \ \ \ \frac{10x^2}{4} = \frac{x^2}{2} +2xy + 2y^2$ $x^2 = xy + y^2$ จาก (1) แทนค่า $ \ \ x^2 = x(1-2x) + (1-2x)^2$ $ x^2 -3x +1 = 0$ $x = \frac{1}{2}(3-\sqrt{5} )$ ....(4) $ y = \sqrt{5} -2 $ .....(5) พื้นที่ของหกเหลี่ยม ABFGMD = จัตุรัส x + จัตุรัส y + เขียว + เหลือง = $x^2 + y^2 +\frac{1}{2}y(x-y) + \frac{1}{2}\cdot \frac{x}{2}(x+y)$ = $\dfrac{5x^2+3xy+2y^2}{4}$ แทนค่า x, y จะได้ $\frac{19}{4}- 2\sqrt{5} \approx 0.277864 \ $ตารางหน่วย
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#9
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 1
อ้างอิง:
ให้ $\dfrac{a}{b}+\dfrac{c}{d} = m \ \ \ \ \ \dfrac{b}{c}+\dfrac{d}{a} = n$ จะได้ $m +n = \dfrac{13}{2}$ และ $mn = 9$ แก้สมการ จะได้ $m = 2, \ \ \dfrac{9}{2}$ แต่คำตอบ 2 ขัดแย้งกับเงื่อนไข $a > b > c>d>0$ จึงมีคำตอบเดียวคือ $\dfrac{a}{b}+\dfrac{c}{d} = \dfrac{9}{2}$
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#10
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 1
อ้างอิง:
$(1+\dfrac{8}{\color{red}{6^2}})(1+\dfrac{8}{\color{red}{2^2}})(1+\dfrac{8}{\color{red}{1^2}}) = (\frac{44}{36})( \frac{12}{4})( \frac{9}{1})= 33 $ $a+b+c = 6+2+1 = 9$ ข้างล่างนี้ เจ้าของคำถามมาเฉลยเอง
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) 01 กรกฎาคม 2011 22:45 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ banker เหตุผล: เพิ่มคำเฉลยของเจ้าของคำถาม |
#11
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 1
อ้างอิง:
$(x^2+y^2)^2 + (x^2-y^2)^2 = k(x^2-y^2)(x^2+y^2)$ $(x^4+y^4+2x^2y^2) +(x^4+y^4-2x^2y^2) = k(x^4-y^4)$ $2x^4+2y^4 = kx^4-ky^4$ $ 2x^4-kx^4 = -ky^4-2y^4$ $x^4(2-k) = -(2+k)y^4$ $x^4 = \frac{k+2}{k-2}y^4$ แทนค่า x ใน$\dfrac{x^8-y^8}{x^8+y^8}+\dfrac{x^8+y^8}{x^8-y^8}$ $ = \dfrac{( \frac{k+2}{k-2}y^4)^2 - y^8}{(\frac{k+2}{k-2}y^4)^2 + y^8} + \dfrac{(\frac{(k+2}{k-2}y^4)^2 + y^8}{(\frac{k+2}{k-2}y^4)^2 - y^8} $ $ = \dfrac{( \frac{k+2}{k-2})^2 - 1}{(\frac{k+2}{k-2})^2 + 1} + \dfrac{(\frac{k+2}{k-2})^2 + 1}{(\frac{k+2}{k-2})^2 - 1} $ $\dfrac{\frac{k^2+4k+4}{k^2-4k+4}-1}{\frac{k^2+4k+4}{k^2-4k+4}+1} + \dfrac{\frac{k^2+4k+4}{k^2-4k+4}+1}{\frac{k^2+4k+4}{k^2-4k+4}-1}$ $ = \dfrac{k^2+4k+4-k^2+4k-4}{k^2+4k+4+k^2-4k+4} + \dfrac{k^2+4k+4+k^2-4k+4}{k^2+4k+4-k^2+4k-4}$ $ = \dfrac{4k}{k^2+4} + \dfrac{k^2+4}{4k}$ $= \dfrac{k^4+24k^2+16}{4k(k^2+4)}$
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#12
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 1
อ้างอิง:
$= \dfrac{1}{1000} \times \dfrac{1}{1000} \times \dfrac { (1\times 2\times 3)+(2\times 3\times 4)+(3\times 4\times 5)+ ... + (998\times 999\times 1000) } { (\dfrac{1}{1\times 2\times 3)} +(\dfrac{1}{2\times 3\times 4})+(\dfrac{1}{3\times 4\times 5})+ ... + (\dfrac{1}{998\times 999\times 1000}) }$ ดูตัวเศษก่อน $\because \ \ (1\times 2\times 3)+(2\times 3\times 4)+(3\times 4\times 5)+ ... + (n\times (n+1)\times (n+2)) = \dfrac{n(n+1)(n+2)(n+3)}{4}$ $\therefore \ \ (1\times 2\times 3)+(2\times 3\times 4)+(3\times 4\times 5)+ ... + (998\times 999\times 1000) = \dfrac{998(999)(1000)(1001)}{4} $ ตัวส่วน $(\dfrac{1}{1\times 2\times 3)} +(\dfrac{1}{2\times 3\times 4})+(\dfrac{1}{3\times 4\times 5})+ ... + (\dfrac{1}{(n-2)\times (n-1)\times n}) $ $ = \dfrac{1}{2} \left[\dfrac{1}{2} - \dfrac{1}{(n-1)n}\right]$ $ = \dfrac{1}{2} \left[\dfrac{1}{2} - \dfrac{1}{(999)1000} \right]$ $ = \dfrac{1}{4} \cdot \dfrac{(1000 \cdot 999 - 2)}{1000 \cdot 999}$ $ \dfrac{เศษ}{ส่วน} = \dfrac{1}{1000} \cdot \dfrac{1}{1000} \cdot \dfrac{998\cdot999\cdot 1000 \cdot1001 \cdot 1000 \cdot 999}{1000 \cdot 999 -2} $ $ = \dfrac{998\cdot999 \cdot1001 \cdot 999}{1000 \cdot 999 -2} $ $ = \dfrac{998\cdot999 \cdot1001 \cdot 999}{998998}$ $ = \dfrac{998\cdot999 \cdot 999}{998}$ $ = 999^2 = 998001$
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#13
|
|||
|
|||
มัธยมต้น ตอนที่ 1
อ้างอิง:
$4a^2 = b^2+c^2+2bc$ $8a^3 = b^3+bc^2+ 2b^2c+ b^2c+c^3+2bc^2$ $6a^3 = 3(b^2c+bc^2)$ $2a^3 = bc(b+c) = bc \cdot 2a$ $a^2 = bc$ $ \because \ \ \ \frac{b}{c} + \frac{c}{b} = \frac{b^2+c^2}{bc} = \frac{4a^2-2bc}{bc} = \frac{4a^2}{a^2} - 2 = 2$ $x+y\sqrt{z} = 2$ แต่โจทย์กำหฟนด $x,y$ และ $z$ เป็นจำนวนเต็มบวก ดังนั้น $x+y\sqrt{z} = 2 = 1 +1 = 1+1\sqrt{1} $ $xyz = 1 \times 1 \times 1 = 1$ ในห้องสอบก็มั่วๆอย่างนี้แหละ
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
#14
|
|||
|
|||
ถ้าผิด ถ้ามั่ว เดี๋ยวท่านผู้รู้ กูรู ทั้งหลาย คงมาชี้แนะให้เอง
อย่ากลัวผิด อย่าอาย (กว่าจะมาเป็นเทพฯ)ทุกคนเคยผิดมาแล้วทั้งนั้น ผิดที่นี่ แก้ไขได้ ปรับปรุงได้ เรียนรู้ได้ แต่ไปผิดในห้องสอบเตรียมฯ หรือ ห้องสอบมหิดลนุสรณ์ฯ จะไม่ไมีโอกาสแก้ตัว
__________________
มาหาความรู้ไว้ติวหลาน แต่หลานไม่เอาเลขแล้ว เข้ามาทำเลขเอามันอย่างเดียว ความรู้เป็นสิ่งเดียวที่ยิ่งให้ ยิ่งมีมาก รู้อะไรไม่สู้ รู้จักพอ (ยกเว้นความรู้ ไม่ต้องพอก็ได้ หาไว้มากๆแหละดี) (แต่ก็อย่าให้มากจนท่วมหัว เอาตัวไม่รอด) |
หัวข้อคล้ายคลึงกัน | ||||
หัวข้อ | ผู้ตั้งหัวข้อ | ห้อง | คำตอบ | ข้อความล่าสุด |
Mathcenter Contest Round 2/2010 Longlist | nongtum | ปัญหาเก็บตก | 24 | 14 กันยายน 2010 22:28 |
Mathcenter Contest Round 1 Olympic Longlist | nongtum | ปัญหาเก็บตก | 10 | 09 สิงหาคม 2008 16:24 |
Mathcenter Contest Round 2 Olympic Longlist | nongtum | ปัญหาเก็บตก | 8 | 30 กรกฎาคม 2008 16:23 |
Mathcenter Contest Round 1 University Longlist | nongtum | ปัญหาเก็บตก | 14 | 12 มิถุนายน 2008 23:52 |
Mathcenter Contest Round 0 Longlist | nongtum | ปัญหาเก็บตก | 27 | 05 พฤษภาคม 2008 01:27 |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|