|
สมัครสมาชิก | คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | ข้อความวันนี้ | ทำเครื่องหมายอ่านทุกห้องแล้ว |
|
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
#1
|
|||
|
|||
ช่วยเฉลยข้อสอบ ก.พ. 47หน่อยนะคะ
อยากให้พี่ๆช่วยเฉลยข้อสอบ ทุนก.พ.47นะคะ เอาแต่คำตอบก็ได้ ถึงแม้ว่าข้อสอบอาจง่ายไปสำหรับสมาชิกในเว็บนี้ แต่ก็อยากให้มีเฉลยบ้างจะได้รู้ว่าที่คิดไปน่ะถูกรึเปล่า
ดูข้อสอบได้ที่ http://www.ocsc.go.th/exam/pdf/M6_math.pdf ขอบคุณล่วงหน้านะคะ |
#2
|
|||
|
|||
ข้อ 1.1 X= เซตว่าง ครับ ตอนแรกคิดผิดครับ
ข้อ 1.2 มีค่าความจริงเป็นจริง เพราะ ส่วนที่อยู่ข้างหลังเป็นจริงเสมอ 2.2 สร้างฟังก์ชันเส้นตรง สองอัน แล้วเอาเงื่อนไขที่ให้มาหาค่าสัมประสิทธิ์ 1) f(x) =2x-3 2) g(x) = 3x-4 3) from 1) 4) from 1) and 2) 5) เนื่องจาก h(x) = h(x+2) จะได้ว่า h(x+2k) = h(x) ทุกจำนวนเต็ม k ให้ x=0,k=50 จะได้ h(100)=h(0)=f(0) 3.1 A หาจาก \( 3^{x^2} (3^{2x}-3) - 9(3^{2x}-3) = 0 \) B หลังจากใช้สูตรของ logarithm และ finite sum อย่างเมามันจะได้ x = 1/a
__________________
site:mathcenter.net คำค้น 26 มีนาคม 2007 00:59 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum เหตุผล: triple posts merged |
#3
|
||||
|
||||
ดูหน้านี้ก็ได้ครับ. ทุน ก.พ. 2547
ข้อ 3.2 \(det B = \pm 17\sqrt[4]{2} \) หมายเหตุ ถ้าคิดว่าผิด ทักท้วงด้วยนะครับ. แบบว่าคิดด้วยความรวดเร็วน่ะ |
#4
|
|||
|
|||
ข้อ 3.2 ผมได้ \(det B=\pm\frac{17}{2}\) ครับ
\[\det\left(-A\right)^4=\det\left(4I\right)\Rightarrow \left(\det A\right)^4=4^4\Rightarrow\det A=\pm4\] \[\det\left(2C\right)^{-1}=32\Rightarrow \frac{2^4}{\det C}=32\Rightarrow\det C=\frac{1}{2}\] \[\det AB^tC=17\Rightarrow\pm2\det B=17 \Rightarrow\det B=\pm\frac{17}{2}\]ป.ล. คำตอบนี้ยังมีที่ผิด ดูอันที่แก้ไขแล้วด้านล่างนะครับ ข้อ 3.3 ผมได้ \[C=\{\frac{1}{2}\},D=\{\frac{7\pi}{6}\}\] \[C\cup D=\{\frac{1}{2},\frac{7\pi}{6}\}\] 26 มีนาคม 2007 01:00 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum เหตุผล: Double post |
#5
|
|||
|
|||
ข้อ 5.1ครับ
ใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่ (ab)n = anbn จะได้ 23+43+63+...+(2m)3 = (2ท1)3+(2ท2)3+(2ท3)3+...+(2ทm)3 = 23(13+23+33+...+m3) \[ = 8\left(\frac{m(m+1)}{2}\right)^{3} \] ข้อ 5.2 ใช่ ผลบวก อนุกรมลำดับย่อยรึเปล่าครับ จากสูตร 1+3+5+...+(2k-1)=k2 a1=1 คือช่วง [0,1) จะติด a2=1+3 = 22 คือช่วง [1,22) จะดับ a3=1+3+5 = 32 คือช่วง [22,32) จะติด . . . an=1+3+5+...+(2n-1) = n2 คือช่วง [(n-1)2,n2) จะ\( \cases{ติด เมื่อ n เป็นเลขคี่ \cr ดับ เมื่อ n เป็นเลขคู่} \) (เพราะเราให้ an เป็นรอยต่อ ระหว่าง ติด กับ ดับ) ถ้า z เป็นจำนวนเต็มบวกใดๆ จะได้ ้ึz๙ คือค่า n จึงสรุปว่า ้ึ500๙= 23 \ วินาทีที่ 500 จึงติด
__________________
[[:://R-Tummykung de Lamar\\::]] || (a,b,c > 0,a+b+c=3) $$\sqrt a+\sqrt b+\sqrt c\geq ab+ac+bc$$ 26 มีนาคม 2007 01:01 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum เหตุผล: Double post |
#6
|
|||
|
|||
ข้อ 5.3. ถ้า \(\frac{df\left(x\right)}{dx}=x^2+2x-|\,x-1|\) จงหาค่าของ \(f\left(-2\right)+f\left(2\right)\)
ผมรู้สึกข้อนี้มันแปลกๆอยู่นะครับ ไม่ทราบว่าโจทย์ตั้งใจให้คำตอบออกมาอย่างนั้นจริงๆหรือเปล่า ดูมันจะยากเกินไปนะ เอ๋... หรือว่าผมคิดผิด ขอความเห็นจากคนอื่นๆหน่อยนะครับ วิธีทำของผมเป็นดังนี้ครับ เมื่อ \(x\le1\) เราจะได้ว่า \(f'(x)=x^2+2x+\left(x-1\right)=x^2+3x-1\) ดังนั้นในช่วงนี้ \[f(x)=\frac{x^3}{3}+\frac{3x^2}{2}-x+C_1\] \[f(-2)=\frac{16}{3}+C_1\] \[f(1)=\frac{5}{6}+C_1\] เมื่อ \(C_1\) คือค่าคงที่ตัวหนึ่ง ส่วนเมื่อ \(x\ge1\) เราจะได้ว่า \(f'(x)=x^2+2x-\left(x-1\right)=x^2+x+1\) ดังนั้นในช่วงนี้ \[f(x)=\frac{x^3}{3}+\frac{x^2}{2}+x+C_2\] \[f(2)=\frac{20}{3}+C_2\] \[f(1)=\frac{11}{6}+C_2\] เมื่อ \(C_2\) คือค่าคงที่อีกตัวหนึ่ง ดังนั้น \[f\left(1\right)=\frac{5}{6}+C_1=\frac{11}{6}+C_2\] นั่นคือ \(C_2=C_1-1\) ทำให้เราสรุปได้ว่า \[f\left(-2\right)+f\left(2\right)=\left(\frac{16}{3}+C_1\right)+\left(\frac{20}{3}+C_2\right)=11+2C_1\] 4.1\[\left(a,b\right)=\left(5,0\right),\left(-\frac{5}{2},\frac{5\sqrt3}{2}\right)\] 4.2\[x=-1,\pm2i,\pm3i\] 4.3\[3\sqrt2\left(\pm1\pm i\right)\] 4.4 ข้อนี้ไม่แน่ใจครับ จำสูตรรวม variance ไม่ได้ เลยต้องคิดขึ้นมาเอง ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม = 37.5 ความแปรปรวนรวม = 377.5 สัมประสิทธิ์ของการแปรผันรวม = ึ1510/75 ป 0.518 5.4\[a=-\frac{3}{2}\] 5.5\[t=\frac{11}{6}\] เย่...เสร็จครบทุกข้อแล้ว ใครเจอที่ผิดช่วยทักท้วงด้วยนะครับ ข้อที่ขอเน้นเป็นพิเศษคือ ข้อ 5.3 ซึ่งยากกว่าข้อย่อยในข้อ 5 ข้ออื่นๆมาก กับข้อ 4.4 เพราะผมต้องคิดสูตรขึ้นมาเอง และคำตอบที่ได้ไม่ลงตัวครับ 26 มีนาคม 2007 01:02 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum |
#7
|
||||
|
||||
ข้อ 3.2 ตอนหา det C ผมว่าคุณ warut น่าจะหาผิดนะครับ. ไม่ใครสักคนก็คงเบลอ แต่ผมว่าผมดูดีแล้วนา
\[ \det(2C)^{-1} = \det(2^{-1}C^{-1}) = 2^{-4}\det C^{-1} = \frac{1}{16 \det C}\] ส่วนข้อ 4.4 อันนี้ confirm ครับ. สูตรของ warut แบบคิดเองนี่เด็ดจริง ๆ ผมตรวจสอบโดยใช้สูตรหากิน \[ S_{รวม}^2 = \frac{\sum_{i=1}^{n}{n_i(S_i^2 + \bar{d_i}^2)}}{\sum_{i=1}^{n}n_i} \; ; \; d_i = \bar{x_i} - \bar{x}_{รวม} \] |
#8
|
|||
|
|||
ไอ้หยา...ผิดจริงๆด้วย ถ้างั้นก็ต้องได้ \(\det C=2^{-9}\) และ \(\det B=\pm17\cdot2^7\) สินะ
สงสัยจะเบลอกันทั้งคู่เลยครับ ดีใจที่สูตรรวม variance เฉพาะการของผมใช้ได้ แต่ตอนนั้นผมเขียนแบบนี้ครับ\[s^2= \frac{\sum_{i=1}^nn_i\left(s_i^2+\bar x_i^2\right)}{\sum_{i=1}^nn_i}- \bar x^2\]ขอบคุณคุณ gon มากครับที่ช่วยเช็คคำตอบต่างๆให้ 11 เมษายน 2005 01:44 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ warut |
#9
|
|||
|
|||
รู้สึกว่าข้อ 2 ไม่มีใครทำนะครับ จะได้ว่าวงรีมีจุดศูนย์กลางที่ (1,2) มีความยาวแกนเอกคือ 2ึ[6]
วงกลมก็มีจุดศุนย์กลางที่ (1,2) และ r = 1 จากการวาดรูปดู ก็จะหาสมการวงกลมได้ จุดโฟกัสก็ง่ายๆ รู้สึกว่า det b จาผิดนะคำตอบน่าจะง่ายๆ ผมคิดได้คือ 8/9 คับ คือว่าได้เดทของเอกับซี แล้วทำต่อปัญหาคือการหากเดทว่าเป็นเท่าไหร่ โดยให้เมตริกซ์มา
__________________
สุดยอดวิชาอยู่หนใด 26 มีนาคม 2007 01:05 : ข้อความนี้ถูกแก้ไขแล้ว 1 ครั้ง, ครั้งล่าสุดโดยคุณ nongtum เหตุผล: Double post |
เครื่องมือของหัวข้อ | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
|
|